• Tidak ada hasil yang ditemukan

น าแบบประเมินแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

4.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

2.2.3 น าแบบประเมินแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ

สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษาฉบับร่างเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม และรับข้อเสนอแนะ ซึ่งอาจารย์ที่ปรึกษาได้เสนอแนะ ดังนี้

1) ปรับปรุงการใช้ภาษาให้กระชับและเข้าใจง่าย

2) ให้รวมแนวทางที่มีความคล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกันเข้าเป็น แนวทางเดียวกัน

2.2.4 ปรับปรุงแบบประเมินแนวทางตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

ได้เสนอแนะ และน าเสนอผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน (ชุดเดิม) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและ ความสมบูรณ์ของแบบประเมินแนวทาง ใช้วิธีการตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา (Content Validity) โดยวิธีการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence : IOC) ระหว่างข้อค าถาม กับเนื้อหา แล้วคัดเลือกข้อค าถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ตั้งแต่ 0.80 ขึ้นไป ซึ่งพบว่าข้อค าถาม ผ่านเกณฑ์ทั้ง 20 ข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.80 ถึง 1.00 จากนั้นปรับปรุงแก้ไขแบบประเมิน แนวทางตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ

2.2.5 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และน าเสนออาจารย์ที่

ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง

2.2.6 จัดพิมพ์แบบประเมินแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษาฉบับจริง เพื่อน าไปใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 ผู้วิจัยด าเนินการขอหนังสือราชการจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคามถึงผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการประเมินความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้ของแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติ

ภารกิจในสถานศึกษา

90 3.2 ผู้วิจัยติดต่อประสานงานกับผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการ ประเมินแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจใน สถานศึกษาและท าการนัดหมายวันและเวลาส าหรับการประเมินแนวทาง

3.3 ผู้วิจัยน าเอกสารแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษาพร้อมทั้งแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ให้กับผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน

3.4 ผู้วิจัยด าเนินการรวบรวมแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็น ไปได้ของแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจใน สถานศึกษาคืนจากผู้ทรงคุณวุฒิ

4. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 การจัดกระท าข้อมูล

ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินแนวทางการมีส่วนร่วมของ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษามาตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นน าข้อมูลมาประมวลผลทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง และเพื่อหาระดับความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง แล้วน าค่าเฉลี่ยมาแปลความหมาย โดยใช้เกณฑ์การแปลค่าความหมายค่าเฉลี่ย ซึ่งก าหนดให้คะแนนเฉลี่ยในระดับมาก

หรือคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป เป็นเกณฑ์พิจารณายอมรับว่าร่างแนวทางนั้นใช้ได้

(บุญชม ศรีสะอาด, 2553)

4.51 - 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ระดับมากที่สุด

3.51 - 4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ระดับมาก

2.51 - 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ระดับปานกลาง

1.51 - 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ระดับน้อย

1.00 - 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ระดับน้อยที่สุด

4.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

ป้อนคะแนนจากการประเมินแนวทางลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์

เพื่อวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของ

91 ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษาแล้วแปลความหมายของค่าเฉลี่ย

5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

5.1 สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง 5.2 สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

92 บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัย การพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการ ปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัย ดังจะขอน าเสนอผลการ วิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับดังนี้

1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ก าหนดสัญลักษณ์และความหมายของ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

X̅ แทน ค่าเฉลี่ย

S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน N แทน จ านวนคน

D แทน ค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน I แทน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์

PNImodified แทน ค่าดัชนีความต้องการจ าเป็น ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ผู้วิจัยขอน าเสนอผลเป็น 2 ระยะ ตามล าดับ ดังนี้

ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4

93 ระยะที่ 2 การวิเคราะห์แนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้

1. การวิเคราะห์สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ดังตาราง 6