• Tidak ada hasil yang ditemukan

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ

5. วัฒนธรรมองค์กร

7.2 ครู

พัฒนาครูสู่มืออาชีพ มีอุดมการณ์ รักเด็ก มีเมตตา และมีความสุข 7.3 การบริหารจัดการ

7.3.1 ร่วมคิด ร่วมท า ร่วมพัฒนา ยึดหลักธรรมาภิบาล 7.3.2 สร้างเครือข่ายการพัฒนา

7.3.3 โรงเรียนน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน

7.3.4 ส านักงานเขตน่าดู น่าอยู่ บริการประทับใจ สร้างแบรนด์คุณภาพ 7.4 การสร้างศรัทธาและพลังใจ

7.4.1 ศรัทธาและเชื่อมั่นต่อองค์กร

7.4.2 คุณภาพ คือ บริการ งาน คือ เกียรติยศ 7.4.3 ก้าวเดินด้วยกันไปได้ไกล

59 7.4.4 อย่ายอมแพ้ต่อโชคชะตาและวาสนา

ตาราง 2 แสดงข้อมูลจ านวนนักเรียน จ าแนกตามชั้น เพศ และห้องเรียน ปีการศึกษา 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2562) สพป.นครราชสีมา เขต 4

ชั้น/เพศ ชาย หญิง รวม ห้องเรียน

อบ.1 458 409 867 74

อบ.2 1,470 1,400 2,870 191

อบ.3 1,459 1,473 2,932 188

รวม อบ. 3,387 3,282 6,669 453

ป.1 1,829 1,638 3,467 200

ป.2 1,917 1,704 3,621 202

ป.3 1,788 1,579 3,367 202

ป.4 1,813 1,674 3,487 198

ป.5 1,773 1,611 3,384 200

ป.6 1,853 1,597 3,450 201

รวมประถม 10,973 9,803 20,776 1,203

ม.1 979 771 1,750 74

ม.2 1,012 766 1,778 75

ม.3 809 690 1,499 72

รวมมัธยมต้น 2,800 2,227 5,027 221

ม.4 0 0 0 0

ม.5 0 0 0 0

ม.6 0 0 0 0

รวมทั้งหมด 17,160 15,312 32,472 1,877

60 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยในประเทศ

จันทร์เพ็ญ ดาโสม (2550) ได้ท าการวิจัย การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานในการบริหารการศึกษาโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 จุดมุ่งหมายของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการบริหารการศึกษาของโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหาร การศึกษาโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 3 จ าแนกตาม ประเภทและระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 320 คน โดยการก าหนดขนาดตัวอย่างตามตารางของเครซีและมอร์แกน และการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่

ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่

ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการ ทดสอบ ค่าเอฟ เมื่อพบความแตกต่างใช้วิธีการทดสอบรายคู่ของเชฟฟ์ ผลการวิจัย พบว่า 1) การมี

ส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารการศึกษาโรงเรียน สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารการศึกษาโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีประเภท ต่างกัน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) เปรียบเทียบการมี

ส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารการศึกษาโรงเรียน สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานที่มีระดับการศึกษาต่างกัน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยรายด้านทุกด้านคณะกรรมการที่มีระดับการศึกษาสูงกว่ามัธยมศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงกว่า คณะกรรมการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษา 4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารการศึกษาโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ควรให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการเรียนการสอน การประชุมวางแผน ชี้แจง และตรวจสอบการ บริหารงานงบประมาณของโรงเรียน การสรรหาครูอัตราจ้างและบุคลากรของสถานศึกษา และการ จัดท ารายงานผลการด าเนินงานประจ าปีของสถานศึกษาเพื่อเผยแพร่ให้ผู้ปกครองและคณะกรรมการ สถานศึกษาทราบ

61 อาทิตย์ วะไลใจ (2556) ได้ท าการวิจัย การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิม พัฒนา อ าเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิม พัฒนา อ าเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการ บริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยรวมมีส่วนร่วม ปานกลางเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการบริหารงานทั่วไปมีส่วนร่วมมาก ส่วนด้านการ บริหารงานวิชาการ ด้านงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล มีส่วนร่วมปานกลาง ส่วนปัญหา และข้อเสนอแนะ พบว่า ด้านการบริหารงานวิชาการ มีปัญหาคือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานขาดความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ของตนเอง และมีข้อเสนอแนะคือ ควรมีการอบรมพัฒนา เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีคู่มือส าหรับคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านการบริหารงานงบประมาณ ปัญหาคือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานส่วนใหญ่ไม่ทราบงบประมาณต่างๆ ของโรงเรียน โดยมีข้อเสนอแนะคือ ควรให้โอกาส คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้มีส่วนร่วมในการประชุมวางแผนด้านการใช้จ่ายงบประมาณ ต่างๆ ของโรงเรียน ด้านการบริหารงานบุคคลไม่พบปัญหาและข้อเสนอแนะ ส่วนด้านการบริหารงาน ทั่วไป มีปัญหาคือ โรงเรียนขาดการประชาสัมพันธ์งานต่างๆ ให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะคือสถานศึกษาควรมีการประชุมชี้แจง และแจ้งการด าเนินงานต่างๆ เพื่อที่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้เข้าใจและช่วยประชาสัมพันธ์ ส าหรับการสัมภาษณ์

แบบมีโครงสร้าง พบว่าผู้ให้สัมภาษณ์ได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมสรุปได้ดังนี้ ด้านการบริหารงาน วิชาการ ควรให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นตัวแทนของคณะกรรมการสถานศึกษามี

ส่วนร่วมมากขึ้นด้านการบริหารงานงบประมาณ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานควรมีส่วนร่วม รับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และร่วมประเมินผลตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ด้านการบริหารงานบุคคล ควรส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามี

บทบาทในการวางแผน รวมทั้งการสนับสนุนกิจการต่างๆ ของสถานศึกษา และด้านการบริหารงาน ทั่วไป ควรมีการจัดท าแผนการปฏิบัติงานของโรงเรียน เพื่อแจ้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานได้รับทราบ และควรจัดการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้บ่อยครั้ง

พรรณี ทองปน (2556) ได้ท าการวิจัย เรื่อง สภาพปัญหาความต้องการ และแนวทาง พัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 3 ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่นเขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สภาพการมีส่วน

62 ร่วมในการจัดการศึกษาอยู่ในระดับมาก 2 ด้าน คือ ด้านงานวิชาการ และด้านบริหารงานงบประมาณ ส่วนสภาพการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาด้านบริหารงานบุคคล และ ด้านบริหารงานทั่วไป อยู่ใน ระดับปานกลาง 2) ปัญหาการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ น้อย เรียงตามคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านวิชาการ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารบุคคล และบริหารงานงบประมาณ 3) ความต้องการมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้มาจากค าถามปลายเปิด เมื่อน ามา ประมวลกับหลักการทฤษฎีการมีส่วนร่วมและสามารถน าเสนอเป็นความต้องการมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ด้านวิชาการ พบว่า คณะกรรมการต้องการมีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบมาตรฐาน การศึกษาให้เท่าเทียมกับโรงเรียนอื่น ๆ รับทราบรายงาน การประเมินผลการเรียน ร่วมหาวิธีแก้ไข นักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และจัดท าหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ด้านการ บริหารงานงบประมาณ พบว่า คณะกรรมการต้องการมีส่วนร่วมในการให้ความเห็นชอบและ

ตรวจสอบในการใช้จ่ายเงินงบประมาณของสถานศึกษา การจัดหาทุนการศึกษา ให้แก่นักเรียนที่

ยากจน และขาดแคลน ด้านการบริหารงานบุคคล พบว่า คณะกรรมการต้องการมีส่วนร่วมในการ ก ากับดูแล ติดตามนิเทศการปฏิบัติงาน การพิจารณาขั้นความดีความชอบ และจัดสวัสดิการให้กับครู

และบุคลากรภายในสถานศึกษาเพื่อสร้างขวัญก าลังใจในการท างาน ด้านการบริหารงานทั่วไป พบว่า คณะกรรมการต้องการมีส่วนร่วมในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง วัด สถานศึกษาและ

คณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิชาการของคณะกรรมการสถานศึกษา อนุรักษ์วัฒนธรรมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตลอดจนการประสานงานกับองค์การทั้งภาครัฐและ เอกชน และ 4) แนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ที่ได้มาจากค าถามปลายเปิด เมื่อน ามาประมวลเข้ากับหลักการทฤษฎีในการมีส่วนร่วมและ สามารถน าเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมได้ ดังนี้ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ควรจัดให้มีการพัฒนาคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีทัศนคติที่ถูกต้องต้อการเป็นกรรมการสถานศึกษา พัฒนาให้รู้บทบาท หน้าที่ และพัฒนาทักษะที่จ าเป็นต้อการเป็นกรรมการสถานศึกษาโดยควรจัดสรรงบประมาณและ จัดการอบรมให้กับกรรมการทุกชุด เมื่อมีความรู้ความสามารถและเข้าใจในบทบาทหน้าที่อย่างดีแล้ว จะท าให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมากขึ้น

อรุณวรรณ ชาญสัมพันธ์ (2556) ได้ศึกษาค้นคว้า เรื่อง สภาพปัญหา สภาพการปฏิบัติ

และแนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานในการจัดการศึกษาของ โรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษา ค้นคว้าสรุปได้ว่า สภาพปัญหาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัด การศึกษาของโรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จังหวัดนครราชสีมา