• Tidak ada hasil yang ditemukan

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ

5) ปรับปรุงและพัฒนา

ช านาญ อุดมนิวิ (2558) ได้ท าการวิจัย แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพความต้องการมีส่วนร่วมในการบริหาร สถานศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 2) เพื่อเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้

ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 27 ปีการศึกษา 2557 ทุกโรงเรียน ทุกคน จ านวน 834 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย ครั้งนี้ประกอบด้วยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 จ านวน 265 คน ซึ่งได้มาโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน และใช้

เทคนิคการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น

แบบสอบถามสภาพ ปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการมีส่วนร่วม และมีค่าอ านาจจ าแนกรายข้อ (r) ตั้งแต่ .22-.68 และมีค่าความเชื่อมั่น (α) ทั้งฉบับเท่ากับ .91 แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และ แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์จัดล าดับ ความส าคัญความต้องการจ าเป็น โดยใช้สูตร Modified Priority Needs Index (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของ

คณะกรรมการ สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการ บริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการ บริหารงานทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.00) โดยด้านที่มีปัญหามากที่สุดคือ การมีส่วน ร่วมด้านการ บริหารงานวิชาการ ( = 3.11) ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการมีส่วนร่วมในการบริหาร สถานศึกษา ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการ

บริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.14) ด้านที่มีสภาพ พึงประสงค์มากที่สุดคือ ด้านการบริหารงานวิชาการ ( = 4.32) แนวทางการมีส่วนร่วมในการ บริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

66 เขต 27 ประกอบด้วยแนวทางย่อย 4 แนวทาง คือ แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารงานงบประมาณ แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารงานบุคคล และแนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารงานทั่วไป

สุจิตรา ประจงกูล (2558) ได้ท าการวิจัย การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2. วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและ แนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยสภาพ ปัจจุบันและปัญหาการมีส่วนร่วม ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จ านวน 322 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลาก กลุ่มตัวอย่างในการสัมภาษณ์ ได้แก่ ประธาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 6 คน และผู้ทรงคุณวุฒิใน การสนทนากลุ่ม จ านวน 9 คน ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่

แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าที่มีค่าความเชื่อมันเท่ากับ .95 แบบสัมภาษณ์

แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้

สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการมี

ส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์

เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ปัญหาการการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยการมีส่วน ร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3. แนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในการบริหาร จัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคือ ควรให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมก าหนดวิสัยทัศน์

พันธกิจวัตถุประสงค์ ร่วมก าหนดแนวทางปฏิบัติงานต่างๆ ของสถานศึกษา แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จัดท าแผนและกิจกรรมต่างๆร่วมกัน คณะกรรมการสถานศึกษาจะต้องมีส่วนร่วมในการรับทราบ แนะน า เสนอแนวทางการบริหารงานต่างๆ ของสถานศึกษา ทั้งบริหารงานงบประมาณ การ

บริหารงานบุคคลการบริหารงานวิชาการ และการบริหารงานทั่วไป สร้างขวัญก าลังใจครูและบุคลากร วางแผนระดมทรัพยากรในรูปแบบต่างๆ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม และช่วยเหลือในการประสานงาน ต่าง ๆ ให้กับสถานศึกษา

ชาญชัย ศาลาจันทร์ (2559) ได้ท าการวิจัย การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางการมี

ส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และ

67 แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหาร สถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 วิธีด าเนินการ มี 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษา สภาพและปัญหาการมีส่วนร่วมในการบริหาร สถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 313 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบช่วงชั้นอย่างมีสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามชนิดมาตรา ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) ศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา ของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามชนิดมาตรา ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีการปฏิบัติอยู่ในอันดับสูงสุด คือ ด้าน การตัดสินใจ และ ด้านที่มีการปฏิบัติต่ าสุด คือ ด้านการประเมินผล ส่วนปัญหาการมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน ทุกด้านมีปัญหาอยู่ใน ระดับมาก ด้านที่มีปัญหาอยู่ในอันดับสูงสุด คือ ด้านการด าเนินงาน และด้านที่มีปัญหาต่ าสุด คือ ด้านการ ประเมินผล 2) แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหาร

สถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วยรายการปฏิบัติ จ านวน 12 รายการ ได้แก่ ด้านการตัดสินใจ 4 รายการ ด้านการ ด าเนินงาน 4 รายการ ด้านการประเมินผล 4 รายการ

อัจฉรา จงดี (2560) ได้ท าการวิจัย การศึกษาบทบาทการมีส่วนร่วมในการบริหาร สถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด จ าแนกตามประสบการณ์

ในการปฏิบัติงาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร สถานศึกษาและครูผู้สอนในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด จ านวน 361 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่ม แบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าอ านาจจ าแนกอยู่ระหว่าง 0.23 0.75 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที

(t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) และตรวจสอบความแตกต่าง เป็นรายคู่ โดยวิธีการตรวจสอบความแตกต่าง ของเชฟเฟ (Scheffe) ผลการวิจัยพบว่า1) บทบาทการ