• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาลักษณะทางกายภาพของพื้นที่

ภาพประกอบ ๓.๙. การใชประโยชนที่ดินในกรุงเทพมหานคร

๓.๒. การใชที่ดิน

ลักษณะการใชที่ดินปจจุบัน ในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทรโดยรวมพื้นที่สวนใหญเปนที่ตั้งของ โบราณสถาน ศาสนสถาน ศูนยราชการ สถานศึกษา พื้นที่กิจกรรมดานวัฒนธรรม สถานที่ทองเที่ยว และสถานที่พักผอนหยอนใจ บางบริเวณ ยังคงปรากฏแหลงที่พักอาศัย พาณิชยกรรมดั้งเดิมกระจาย อยูโดยรอบ

ในบริเวณเกาะรัตนโกสินทรชั้นใน มีสัดสวนการใชที่ดินมากที่สุดไดแก ยานโบราณสถาน และศาสนสถาน ลําดับตอมาคือสวนราชการ พื้นที่เปดโลง สวนสาธารณะ สถาบันการศึกษา พาณิชย-

-กรรม และแหลงที่พักอาศัย ตามลําดับ (ดูตาราง ๓.๑.)

บริเวณรัตนโกสินทรชั้นนอกสวนใหญใชประโยชนเพื่อการพาณิชยกรรมและที่พักอาศัย โบราณสถานและสถานที่ราชการ ที่เหลือเปนพื้นที่วางเปดโลง สวนสาธารณะ และสถาบันการศึกษา

บริเวณฝงธนบุรี มีการแบงใชที่ดินโดยสวนใหญใชเปนสถานที่ราชการ โบราณสถาน

ศาสนสถาน และที่อยูอาศัย ที่เหลือคือ ที่วางเปดโลง แหลงพาณิชยกรรม และสถานศึกษาตามลําดับ

ตาราง ๓.๑. การใชที่ดินประเภทกิจกรรม / การใชงาน

การใชทีดิน(โดยประมาณ) กาใชที่ดิน

รัตนโกสินทรชั้นใน รัตนโกสินทรชั้นนอก ฝงธนบุรี (โดยประมาณ) รอยละ พื้นที่(ไร) รอยละ พื้นที่(ไร) รอยละ พื้นที่(ไร) รอยละ พื้นที่(ไร) ประเภทกิจกรรม/การใชงาน

ของพื้นที่ ของพื้นที่ ของพื้นที่ ของพื้นที่ ของพื้นที่

โบราณสถาน/ศาสนสถาน ๔๐ ๔๗๐ ๑๐ ๑๔๑ ๒๐ ๒๑๘ ๘๒๙ ๒๓

สถาบันราชการ ๒๕ ๒๙๔ ๑๐ ๑๔๑ ๔๐ ๔๓๖ ๘๑๗ ๒๔

สถาบันการศึกษา ๘๒ ๔๒ ๓๓ ๑๕๗

ที่วางเปดโลงรวมสวนสาธารณะ ๑๕ ๑๗๖ ๗๒ ๖๕ ๓๑๓

พาณิชยกรรม-หองพักอาศัย ๕๙ ๓๐ ๔๒๔ ๕๔ ๕๓๗ ๑๕

ที่อยูอาศัย ๑๒ ๓๐ ๔๒๔ ๑๕ ๑๖๓ ๕๙๙ ๑๖

อุตสาหกรรม/คลังสินคา - - ๒๘ ๑๐ ๓๘

ถนน ทางเทา ที่จอดรถ ๘๒ ๑๐ ๑๔๑ ๑๐ ๑๐๙ ๓๓๒

รวม ๑๐๐ ๑,๑๗๕ ๑๐๐ ๑,๔๑๓ ๑๐๐ ๑,๐๘๘ ๓,๖๗๖ ๑๐๐

ที่มา : ประเมิน วิเคราะหจากแผนที่แสดงการใชที่ดิน ของกรุงเทพมหานคร บริษัทซินครอนกรุป ๒๕๓๖: ๑๒๗

๖๔

๖๕

ภาพประกอบ ๓.๑๐. ผังการใชที่ดินในเกาะรัตนโกสินทร

เพื่อความเขาใจโดยละเอียด สามารถสรุปความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพตามประเภทการใชที่ดิน หลัก ๆ ไดดังนี้

๓.๒.๑. โบราณสถานและศาสนาสถาน

การใชประโยชนที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากในระยะกอรางสรางเมือง

โดยเฉพาะชวงรัชสมัยรัชกาลที่ ๑-๕ แตเมื่อเริ่มเขาสูสมัยปจจุบันมีการใชประโยชนที่ดินที่ไม

มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก แตมีการปรับปรุงตอเติมอาคารอยูบางตามความประสงคของ เจาของสถานที่เพื่อรองรับประโยชนใชสอยที่จําเปน ในโบราณสถานประเภทวัง มีการใช

ประโยชนที่เปลี่ยนไปจากเดิมซึ่งเปนที่พักอาศัยสําหรับเจานาย ไดถูกเปลี่ยนมาเปน สถานที่ราชการ พิพิธภัณฑ โรงเรียน สถานที่ทองเที่ยว บางสวนไดถูกรื้อถอนหรือเปลี่ยน เจาของและไดเปลี่ยนเปนยานพาณิชยกรรม

๓.๒.๒. สถานที่ราชการและสถาบันการศึกษา

ยานสถานที่ราชการมีการเปลี่ยนแปลง โยกยายตลอดมา แตเดิมพระบรมมหาราชวัง และบริเวณรัตนโกสินทรชั้นในจะถือเปนศูนยราชการของประเทศ หนวยราชการในสมัยรัตน- -โกสินทรตอนตนจึงมักตั้งอยูในพระบรมมหาราชวังและพื้นที่รัตนโกสินทรชั้นใน ตอมาจึงเริ่ม มีการกระจายตัวออกไปตามขอบพระนคร ไดแกตามถนนสายใหมที่ตัดขึ้น เชน ถนนเจริญกรุง ถนนบํารุงเมือง ถนนเฟองนคร ถนนตรง ถนนราชดําเนิน จนถึงยุคปจจุบันที่รัฐบาลไดมี

นโยบายไมสงเสริมใหหนวยงานราชการมีการขยายตัวในบริเวณพื้นที่ของกรุงรัตนโกสินทร

และมีหลายหนวยงานไดมีนโยบายยายออกไปจากพื้นที่ ทั้งนี้ยกเวนบางหนวยงาน ซึ่งยังคง มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง

สถานบันการศึกษาในบริเวณพื้นที่ ๆ ศึกษานั้น สวนใหญเปนโรงเรียนและ

มหาวิทยาลัยเกาแกที่มีชื่อเสียง ไดมีการขยายตัวทางกายภาพอยางรวดเร็วดวยการรื้อถอน อาคารและสิ่งกอสรางที่มีอยูเดิม และไดทําการสรางอาคารทับอาคารเกา บางแหงสราง อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ แตในปจจุบันไมมีการขยายตัวลักษณะเชนนี้เนื่องจาก นโยบายของรัฐ สถานบันการศึกษาสวนมากมีแผนที่จะขยายตัวและยายหนวยงานออกไป ตั้งวิทยาเขตแหงใหมภายนอกพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร เชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยชางศิลป เปนตน

๖๖

๓.๒.๓. บริเวณที่พักอาศัย

การใชที่ดินเพื่อการพักอาศัยในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ทั้งดานรูปแบบและยานทําเลที่ตั้งมาโดยตลอด ทั้งนี้เปนไปตามพระบรมราโชบายในระยะแรก และเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสทางเศรษฐกิจ สังคม ในระยะตอมา เชน ในอดีตมีการตั้ง ถิ่นฐานของกลุมชาวตางชาติที่เปนไปตามพระราชดําริ การตั้งถิ่นฐานของกลุมวิชาชีพของ ชาวบานตาง ๆ ที่อพยพลงมาจากกรุงศรีอยุธยา การเปลี่ยนพฤติกรรมการอยูอาศัยริมน้ํา เชน กลุมเรือนแพริมแมน้ําเจาพระยาเรียบพระนครทั้งสองฟากฝง

แตในปจจุบัน ชุมชนชาวตางชาติมีความผสมกลมกลืนกับคนทองถิ่นจนแยกไมออก ชาวกรุงเทพเริ่มมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ และถิ่นฐานมากขึ้น ชุมชนวิชาชีพหลายแหง ไดเลิกประกอบวิชาชีพดานนั้นไปเพราะความกาวหนาทางอุตสาหกรรมที่เขามาแขงขัน คงเหลือแตชื่อสถานที่ไว เชน บานหมอ บานขมิ้น บานดินสอ บานตีทองเปนตน สวน

ชุมชนทางวิชาชีพที่เหลืออยูไดลดการผลิตลงและไดเริ่มเปลี่ยนไปประกอบวิชาชีพดานอื่นตาม สภาพสังคม เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป เชน ชุมชนบานบาตร บานชางหลอ เปนตน

สวนภาพเรือนแพริมแมน้ําเจาพระยาทั้งสองฝงในอดีตนั้นไมปรากฎใหเห็นในปจจุบัน อีกตอไปแลว ผูคนทองถิ่นดั้งเดิมเมื่อเริ่มมีฐานะมั่นคงทางเศรษฐกิจก็เริ่มยายจากแหลง ที่พักอาศัยเดิมออกไปซื้อที่พักอาศัยตามหมูบานจัดสรรชานเมือง สวนที่พักอาศัยเดิมก็ให

คนตางถิ่นมาเชาตอและเมื่อมีฐานะดีขึ้นก็ยายออกไป มีคนมาเชาตอใหมโดยจะหมุนเวียน เปลี่ยนไปเชนนี้จนปจจุบันผูคนทองถิ่นของชุมชนดั้งเดิมจริง ๆ นั้นมีเหลืออยูนอยมาก ๓.๒.๔. แหลงพาณิชยกรรม

ชวงรัตนโกสินทรตอนตน การใชที่ดินเพื่อการพาณิชยกรรมสวนใหญจะเปนลักษณะ ของตลาดบก ตลาดน้ํา เปนรานคาริมทางเดิน เรือนแพริมคลองหรือแมน้ํา ตอมาใน

สมัยรัชการที่ ๔ เมื่อเริ่มมีถนนอยางดี จึงมีการสรางตึกแถว เรือนแถว รูปแบบการใชที่ดิน แบบเดิมจึงเริ่มเปลี่ยนแปลงไป ตลาดน้ําปากคลองบางกอกใหญอันเปนที่มาของชื่อ วัดทายตลาด ตลาดน้ําปากคลองบางกอกนอย ซึ่งกลาวกันวาเปนตลาดที่ใหญที่สุดของ กรุงรัตนโกสินทร ปจจุบันไมปรากฏใหเห็นอีกตอไป รูปแบบการคาขายเริ่มเปลี่ยนไปตาม แบบชาวตางชาติ คือมีหนารานเปนเรือนแถว ตึกแถวริมถนน มีความพลุกพลาน กระจายตัว ออกไปในทางราบ จนเขาสูยุคปจจุบัน ซึ่งเปนยุคของความกาวหนาในการกอสรางอาคาร จึง เริ่มยายกิจกรรมทางการคาไปสูอาคารขนาดใหญและอาคารสูง ตลอดจนความเปลี่ยนแปลง ทางสังคม เศรษฐกิจ และนโยบาย ก็เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหการใชที่ดินเพื่อการพาณิชย

๖๗

เปลี่ยนแปลงไปอยางมาก เชน ยานขายสงบริเวณทาเตียน ยานขายดอกไม ของสด ผลไม

บริเวณปากคลองตลาดเริ่มโยกยายไปยังตลาดขนาดใหญที่เกิดขึ้นตามชานเมือง รานคาปลีก ที่เปนตึกแถวเลิกหรือเปลี่ยนกิจการเนื่องจากคานิยมทางสังคมที่นิยมซื้อของจาก

หางสรรพสินคาขนาดใหญ หรือจากรานที่เปนระบบแฟรนไชสที่มีชื่อเสียง บริษัทหางรานที่เดิม มีสํานักงานใหญตั้งอยูเมื่อมีกิจการเติบโตขึ้น ก็สรางหรือเชาอาคารสํานักงานใหม และยายไป ตั้งอยูในยานการคาอื่น เพื่อรองรับการขยายตัวที่เกิดขึ้น และความสะดวกในเชิงธุรกิจ นอกจากนี้ลักษณะของการคาขายยังเปลี่ยนแปลงไปตามกลุมลูกคา เชน การเปลี่ยนแปลง กิจการของตึกแถวริมถนนพระจันทรเพื่อรองรับนักศึกษาจากสถาบันในบริเวณนั้น หรือ การเปลี่ยนแปลงกิจกรรมบริเวณถนนพระอาทิตยที่กลายเปนยานธุรกิจสําหรับนักทองเที่ยว หลังจากมีการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณปอมพระสุเมรุใหเปนสวนสาธารณะ และมีการจัดแสดง เชิงวัฒนธรรม

๓.๒.๕. ยานอุตสาหกรรมและคลังสินคา

การใชที่ดินเพื่อกิจการดานอุตสาหกรรมและคลังสินคา มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ในระยะตนกรุงรัตนโกสินทรลักษณะอุตสาหกรรมมักเปนอุตสาหกรรมในครัวเรือน ผลิต งานฝมือ เครื่องใชประจําวัน อาหารการกินตางๆ ซึ่งเกาะกลุมกันเปนหมูบานมีชื่อเรียกตาม สินคาที่ผลิตนั้น เชน บานพานถม บานบาตร บานหมอ บานชางหลอ บานขมิ้น เปนตน มี

โรงสีและยุงขาว โรงเลื่อยไม ทาทราย กระจายตัวตามริมแมน้ํา สวนคลังสินคามักมีเกาะกลุม เปนจํานวนมากในบริเวณใกลเคียงทาเรือสินคา เริ่มจากปากคลองคูเมืองเดิม จักรวรรดิ

คลองสาน ไปจรดบริเวณสาธร ถนนตก เพื่อขนถายสินคาจากเรือสินคาขนาดใหญ ที่เขาจอด ในบริเวณนี้ ดังปรากฏการเรือรอยรํา ในรัชกาลที่ ๔ (ดูภาพประกอบ ๓.๑๑.)

ตอมาในยุคหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม รูปแบบของอุตสาหกรรมมีการเปลี่ยนแปลง ไปอยางมาก ลักษณะอาคารเพื่อการผลิตสินคาทางอุตสาหกรรมมีขนาดใหญขึ้นและ ความตองการใชพื้นที่เพื่อการขยายกิจการมากขึ้น แตพื้นที่ในกรุงรัตนโกสินทรมีราคาแพง และมีขนาดเล็กมีขอจํากัดดานการขยายตัว ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลไม สนับสนุนใหมี

การใชที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมในบริเวณนี้ ปจจุบันจึงมีการใชที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม เหลืออยูในบริเวณที่ศึกษานี้นอยมาก