• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาลักษณะทางกายภาพของพื้นที่

ภาพประกอบ ๓.๙. การใชประโยชนที่ดินในกรุงเทพมหานคร

๑. ถนนและสะพานที่สรางในรัชกาลที่ ๔

ถนนสายสําคัญที่สรางในรัชกาลที่ ๔ ประมาณป พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑ ไดแก ถนนเจริญกรุง (ตอนใน) ถนนบํารุงเมือง ถนนเฟองนคร ซึ่งสรางขึ้นตาม การเปลี่ยนแปลงของยานพาหนะที่เริ่มนิยมการใชรถมามากขึ้น มีการสรางตึกแถว ชั้นเดียวริมถนนทั้ง ๓ สายอันเปนจุดเริ่มตนของตึกแถวริมถนนที่ปรากฏตอมาถึง ปจจุบัน สวนสะพานที่สรางในรัชกาลนี้ ไดแก สะพานเหล็กบน (สะพานดํารงสถิต) ๒. ถนนและสะพานที่สรางในรัชกาลที่ ๕

ในป พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓ มีการสรางถนนจํานวนมากเนื่องจาก

การเปลี่ยนความนิยมจากการสัญจรทางน้ํามาเปนทางบกโดยมีรายชื่อถนนที่สําคัญ ดังนี้ (บริษัทซินครอนกรุป ๒๕๓๖: ๓๙ )

- ถนนหนาพระลาน - ถนนบุญศิริ

- ถนนสนามไชย - ถนนเจาฟา

- ถนนทายวัง - ถนนพระอาทิตย

- ถนนมหาราช - ถนนจักรพงษ

- ถนนหนาพระธาตุ - ถนนตานี

- ถนนพระจันทร - ถนนขาวสาร

- ถนนหลักเมือง - ถนนมหาไชย

- ถนนบํารุงเมือง (ปรับปรุง) - ถนนบานดินสอ

- ถนนพาหุรัด - ถนนอิสรภาพ

- ถนนราชินี - ถนนอรุณอมรินทร

- ถนนอัษฎางค - ถนนราชดําเนินใน

- ถนนบูรพา - ถนนราชดําเนินกลาง

- ถนนเจริญเพชร - ถนนตรีเพชร

๗๑

- ถนนตีทอง

สวนสะพานที่สรางในรัชสมัยนี้ไดแก

- สะพานผานพิภพลีลา - สะพานเฉลิมพงษ ๕๑ - สะพานเฉลิมวัง ๔๗ - สะพานนรรัตนสถาน - สะพานผานฟาลีลาศ - สะพานสมมตอมรมารค - สะพานภาณุพันธ

๓. ถนนและสะพานที่สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๖

มีการปรับปรุงขยายถนนสายสําคัญหลายแหง เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นของ รถยนต และพาหนะทางบกอื่นๆ

สะพานที่สรางในรัชสมัยนี้ ไดแก

- สะพานเฉลิมสวรรค ๕๘ - สะพานเจริญศรี ๓๔ - สะพานหมู

- สะพานมอญ - สะพานเจริญรัช ๓๑ - สะพานเจริญทัศน ๓๕ - สะพานมหาดไทยอุทิศ - สะพานอุบลรัตน

๔. ถนนและสะพานที่สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๗ - รัชกาลที่ ๙

ในชวงรัชกาลที่ ๗ และรัชกาลที่ ๘ มีความเปลี่ยนทางดานสังคมเศรษฐกิจ ของประเทศเปนอยางมากอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง ถนน และสะพานในกรุงรัตนโกสินทรมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก มีเพียงการปรับปรุง ขยับขยายถนน เนื่องจากขีดจํากัดของพื้นที่ทําใหไมสามารถตัดถนนสายใหมๆ ได

ถนนสายใหมที่สรางขึ้นจะอยูบริเวณรอบนอกของกรุงรัตนโกสินทรเปนสวนมาก สะพานที่สรางขึ้น และมีความสําคัญตอการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร อยางมากไดแก สะพานพระพุทธยอดฟาขามแมน้ําเจาพระยา เชื่อมฝงกรุงรัตน-

๗๒

-โกสินทรกับฝงธนบุรี

ในรัชกาลปจจุบัน มีการสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยาในบริเวณกรุงรัตน- -โกสินทรขึ้นใหมจํานวน ๓ สะพาน ไดแก สะพานสมเด็จพระปนเกลา

สะพานพระปกเกลา (ขนานกับสะพานพระพุทธยอดฟา) และสะพานพระราม ๘ ๓.๓.๒. คลอง

คลองเปนเสนทางสัญจรหลักของกรุงรัตนโกสินทร ในสมัยตนกอนที่พาหนะทางบก จะไดรับความนิยม จึงมีความนิยมขุดคลองกันโดยทั่วไปเพื่อการสัญจรและเกษตรกรรม ตอมามีการถมคลองเพื่อสรางถนนเปนจํานวนมาก จนปจจุบันคลองมีบทบาทหลักเพียงเพื่อ รองรับการระบายน้ําเทานั้น

คลองที่สําคัญในพื้นที่ทําการศึกษานี้ สามารถอธิบายตามยุคสมัยตางๆ ที่ขุดคลอง ไดดังตอไปนี้

๑. ในสมัยกอนสถาปนากรุงรัตนโกสินทร (กอน พ.ศ. ๒๓๒๕) คลองที่สําคัญที่มีมากอนการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร ไดแก

๑.๑. คลองบางกอกใหญ

๑.๒. คลองคลองมอญ ๑.๓. คลองบางกอกนอย

๑.๔. คลองคูเมืองเดิม (คลองรอบกรุงธนบุรี) ๑.๕. คลองนครบาล (คลองวัดอรุณ) ๒. คลองที่ขุดในสมัยรัชกาลที่ ๑ - ๔

ในระหวางป พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๔๑๑ มีการขุดคลองเพื่อเปนประโยชน

ทางดานความมั่นคง และการสัญจร ไดแก

๒.๑. คลองรอบกรุง

ขุดจากแมน้ําเจาพระยาบริเวณบางลําพู ขนานกับ แนวคลองคูเมืองเดิมไปถึงวัดสามปลื้ม

๒.๒. คลองหลอดวัดราชนัดดาและคลองหลอดวัดราชบพิธ ขุดขึ้นในรัชกาลที่ ๑ เพื่อเชื่อมการสัญจรระหวาง คลองรอบกรุงกับคลองคูเมืองเดิม

๒.๓. คลองมหานาค

๗๓

สรางในรัชกาลที่ ๑ ตามคลองมหานาคในสมัยอยุธยา ขุด จากคลองรอบกรุงบริเวณวัดสระเกศ จรดคลองผดุงกรุงเกษมบริเวณ วัดบรมนิวาส สําหรับประชาชนเลนเพลงเรือ และสัญจรสูพื้นที่

ดานทิศตะวันออกของพระนคร ๒.๔. คลองผดุงกรุงเกษม

สรางในสมัยรัชกาลที่ ๔ เพื่อขยายเขตพระนครออกไปทาง ทิศตะวันออกขนานไปกับแนวคลองรอบกรุง เริ่มจากริมฝงแมน้ํา เจาพระยาทิศเหนือจากวัดเทวราชกุญชรไปออกแมน้ําเจาพระยาที่

บริเวณวัดแกวแจมฟา(เดิม) และสรางกําแพงเมืองขนานไปกับ คลอง และสรางปอมใหม ๆ ขึ้น ๗ ปอม

๗๔