• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ ๒

๒.๒. สมัยรัชกาลที่ ๕

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เปนยุคที่

เริ่มตนเขาสูความเจริญสมัยใหม มีการปรับปรุงทางกายภาพตาง ๆ มากมาย อันเปนผลมาจากการดําเนินนโยบายเพื่อสรางความเจริญใหทัดเทียมกับ ชาวตะวันตกซึ่งพยายามจะแสวงหาอาณานิคมในตางแดน และทรงพัฒนา แนวคิดในการวางผังเมืองในดานความงามตามแบบอยางเมืองของชาวยุโรป เชน การตัดถนนราชดําเนินที่มีขนาดกวางขวางสงางามมีลักษณะ

การนําสายตาไปสูจุดสนใจในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร ทรงใชพื้นที่วังหนา บางสวนขยายพื้นที่ทองสนามหลวงออกมาทางทิศเหนือ แลวโปรดใหปลูก ตนมะขามโดยรอบ และทรงโปรดใหขุดคลองตาง ๆ มากมาย ซึ่งคลองที่

สําคัญไดแก คลองซึ่งขุดทางทิศเหนือเพื่อกระจายความเจริญไปสูทิศเหนือ ไดแก “คลองเปรมประชากร” ขุดคลองขวางบริเวณยานสาทร สุรวงศ

คลองวัดสามปลื้ม คลองกระทะ คลองวัดปทุมคงคา คลองบางรัก คลองอรชร คลองสวนหลวง คลองสระปทุม คลองราชดําริ เปนตน

สวนลักษณะการใชที่ดินที่มีความสําคัญในยุคนี้ พระองคทรงโปรดฯ ใหมีการซื้อที่สวนและนาตอนเหนือของพระนครเพื่อสรางวังสวนดุสิตและ สรางถนนโดยรอบ บริเวณตอนใตทรงโปรดฯใหสรางโรงไฟฟาขึ้นตรงขาม

๒๒

กับวัดราชบบุรณะ และสรางโรงเรียนสวนกุหลาบ โรงเรียนราชินีขึ้นในบริเวณ เดียวกัน ในดานของหนวยงานราชการก็ทรงโปรดฯ ใหมีการปรับปรุง ระบบราชการใหมแลวยายสถานที่ราชการไปตั้งอยูในบริเวณนอก พระบรมมหาราชวัง

ในดานอาคารทางศาสนา พระองคทรงโปรดฯใหมีการสรางวัดใหม

เพียง ๒ วัด ไดแก วัดราชบพิธ และวัดเทพศิรินทร และยังทรงโปรดใหบูรณะ วัดตาง ๆ ทั้งในพระนครและหัวเมืองตางๆ เปนจํานวนมาก

สวนการสัญจรทางบกในสมัยนี้มีความเจริญทางยานยนตมาก กลาวคือเริ่มมีรถยนตและรถราง ทรงโปรดใหขยายถนนสายเกา แลวให

ราษฎรรื้อสิ่งปลูกสรางออกไปจากแนวกําแพงเมือง แลวสรางถนนริมกําแพง- -เมือง สวนถนนที่สรางใหมไดแกถนนราชดําเนิน ถนนจักรพงษ ถนนพระ- -อาทิตย ถนนพระสุเมรุ ถนนจักรเพชร และถนนมหาไชย ดานบริเวณ นอกกําแพงเมืองทิศตะวันออกก็โปรดใหมีการซอมบํารุงถนนสระปทุม สราง ถนนจากวังสระปทุมไปสูถนนตรง (ถนนวัวลําพอง) ถนนตลาดนางเลิ้ง (ถนนนครสวรรค) ถนนประแจจีน (ถนนเพชรบุรี) สวนดานทิศเหนือก็

โปรดฯใหสรางถนนใหม ๒ สาย คือ ถนนสามเสน และ ถนนกรุงเกษม เลียบฝงคลองผดุงกรุงเกษมไปบรรจบถนนตรง ทางดานทิศใต สรางถนน สําคัญไดแก ถนนเยาวราช นอกจากนั้นก็ยังสรางถนนริมกําแพงเมืองให

ติดตอกันเปนวงรอบพระนคร เวนแตเฉพาะบริเวณวังหนาเทานั้น รวมทั้ง ถนนขาวสาร จากหนาวัดชนะสงครามไปบรรจบถนนเฟองนครใกลกับตึกดิน สรางถนนพาหุรัดจากถนนเฟองนครไปถึงประตูสะพานหัน และยังมี

ถนนสายยอยอีกเปนจํานวนมากที่มิไดกลาวถึงในที่นี้

ในภาพรวมกลาวไดวาทัศนียภาพเมืองในสมัยนี้เปนยุคตนของ ความทันสมัยในประเทศไทย และเปนยุคเสื่อมโทรมของสถาปตยกรรม ในอดีต ซึ่งจากหนังสือ “Temples and Elephants” ของ คารล บอค (Carl Bock) นักธรรมชาติวิทยาชาวนอรเวย ที่เขามาสํารวจประเทศไทยในป

พ.ศ.๒๔๒๔ ไดบันทึกไวอยางนาสนใจดังนี้

"ถนนในกรุงเทพฯนั้นเลวมากโดยเฉพาะฤดูฝนการคมนาคมใชเรือเปน สวนมาก...มีคลองเล็กๆตัดซอยออกไปตามตําบลตางๆภายในตัวเมือง ในระยะสองสามปมานี้ไดมีการตัดถนนขึ้นหลายสาย...แตถนนทุกสายก็

๒๓

อยูใตระดับน้ําเมื่อน้ําทวม... ชาวยุโรปและชาวไทยที่มีฐานะดีจึงมักตั้ง บานเรือนอยูริมแมน้ําเพื่อหลีกเลี่ยงกลิ่นไอตางๆภายในตัวเมือง...

ภาพของกรุงเทพฯ ที่มองจากแมน้ําและภาพในแมน้ําเองก็นาดูมาก ตรงกลางน้ําเราเห็นเสากระโดงของเรือกลไฟอังกฤษหลายลํา ลําเรือ อันใหญโตขมเรือแพของไทย...ตามริมฝงจะเห็นเรือจอดเรียงกันเปนแถว ประมาณ ๕ หรือ ๖ ลํา...พวกชาวเรือและครอบครัวก็ใชเปนบานอัน ถาวรของตนดวย ตอจากพวกเรือออกไปบนฝงทั้งสองขางจะเห็นหลังคา บานเรือนสุดลูกหูลูกตา มีชอฟา ยอดเจดียและปราสาทราชวังสูงเดน สลับอยูบาง กลาวกันวาในกรุงเทพฯมีวัดมากกวา ๑๐๐ แหง มีเจดียนับ จํานวนไมถวน ในวันที่แดดจาประกายของสิ่งเหลานี้ซึ่งสวนมากปดทอง กันจนถึงยอดก็ยิ่งดูงามมากขึ้น...ตรงหนาบานพักของมิสเตอรอลาบาส- -เตอร ผูรับราชการเปนลามประจําพระองคของพระบาทสมเด็จพระเจา- -อยูหัว มีสภาพเหมือนตลาดแถวโคเวนท การเดน คือเปนตลาดลอยน้ํา มีเรือประมาณ ๑๐ กวาลําพายไปมา แตละลํามีผูหญิงคนหนึ่งหรือสอง คน สวนมากสวมเสื้อทรงกระบอกสีขาวไมคลุมหนาแตสวมงอบเปน คนพายหรือแจว สงเสียงเจื้อยแจวไดยินไปทั่ว ตอรองราคากับพวก ลูกคาและบอกขายผลไม ผัก ฟน และสินคาจากชนบทของตน มีเรือ ขายของกินของชาวจีนปะปนอยูบาง เปนเรือลําเล็ก ๆ ที่ชาวจีนขาย อาหารถูก ๆ เชน ขาวตม ผักตม เนื้อหมู ปลาแหงและขนม...นอกจากนี้

ก็มีเรือสําราญที่เปนของสวนบุคคล รูปรางคลายเรือกอนโดลา พวก ขาราชการที่เหน็ดเหนื่อยหรือนักธุรกิจที่ตองการพักผอนใหลืม

ความกังวลในหนาที่การงานมักจะมาตากอากาศในแมน้ําจะมีตนไมขึ้น เรียงรายเขียวชอุม ตามลานวัดก็มีตนไมหลากชนิด จนแมแตริมถนน แคบๆ ก็มักจะมีสวนมะพราว สวนหมาก สวนกลวย และพืชเมืองรอน อื่น ๆ อยูเรียงราย ตลอดจนที่วางระหวางบานชองก็ยังมีรองผักตาง ๆ ก็ดี แตก็ยังไมมีสวนสาธารณะเลย เมืองนี้จึงมีแมน้ําเทานั้นเปนสถานที่

พักผอนหยอนใจ สําหรับสวนหลวงนั้นเปดใหประชาชนเขาไปเที่ยวได

อาทิตยละครั้ง มีแตรวงชั้นเยี่ยมที่ผูเลนเปนคนไทยทั้งหมดบรรเลงใหฟง ดวยในตอนบาย แตไมมีที่สําหรับผูหญิงอเมริกันและผูหญิงยุโรป สองสามคนจะไปเที่ยวอวดโฉมได เวนแตทานเสนาบดีวาการตาง- -ประเทศหรือขาราชการอื่น ๆ จะเกิดความสงสารจัดงานเตนรําหรือ

๒๔

งานอุทยานสโมสรขึ้น การลอยเรือจึงเปนทางเดียวเทานั้นที่จะไดรับ อากาศบริสุทธิ์บาง”(เสถียร พันธรังษี ๒๕๔๓: ๗-๙)