• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาลักษณะทางกายภาพของพื้นที่

ภาพประกอบ ๓.๑๕. แผนที่แสดงตําแหนงคลองสายสําคัญ

๗๗

๓.๔. สถานที่สําคัญ และโบราณสถาน ๓.๔.๑. ศาสนสถาน

๑. วัดดุสิดารามวรวิหาร

เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยูที่เขตบางกอกนอย วัดดุสิ- -ดารามเปนวัดโบราณ สรางในสมัยอยุธยาเดิมชื่อวัดเสาประโคนและไดรับการบูรณะ ขึ้นใหมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก โดยสมเด็จพระเจาบรม- -วงศเธอ เจาฟากรมหลวงศรีสุนทรเทพ พระราชธิดา ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธ- -ยอดฟาจุฬาโลก และสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีไดทรงสถาปนาพระอาราม ขึ้นใหม แลวคงจะนอมเกลาฯ ถวายเปนพระอาราม หลวงในรัชกาลที่ ๑ ตอมาใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย สมเด็จพระบวรราชเจา มหาเสนา- -นุรักษ ทรงสรางและปฏิสังขรณถาวรวัตถุในวัดเสาประโคนเปนบางสวน เมื่อเสร็จ แลวพระราชทานนามวา วัดดุสิดาราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดเสด็จตรวจสภาพ พระอารามเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ และทรงตรวจดูวัดที่อยูใกลๆ กัน คือ วัดภุมรินราชปกษี

ซึ่งเปนวัดเล็กๆ ติดกับวัดดุสิดารามทางทิศตะวันตกมีสภาพรกรางมากและมีพระจํา พรรษาอยูเพียงรูปเดียวจึงมีรับสั่งใหรวมวัดภุมรินราชปกษีเขากับวัดดุสิดาราม

๒. วัดอมรินทรารามราชวรวิหาร

เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยูที่เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร วัดอมรินทรารามเปนวัดโบราณ เดิมชื่อวัดบางวานอยคูกับ วัดบาง- -วาใหญ หรือวัดระฆังโฆสิตาราม ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาตากสิน โปรดเกลาฯ ให

ยกเปนพระอารามหลวงและทรงตั้งใหพระอธิการเจาวัดเปนพระราชาคณะในสมัย รัตนโกสินทร รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช กรมพระราช- -วังบวรสถานพิมุขพระโอรสในสมเด็จเจาฟา กรมพระยาเทพสุดาวดี พระพี่นางเธอใน รัชกาลที่ ๑ ทรงปฏิสังขรณใหมทั้งพระอารามแตหลักฐานบางแหงกลาววา เมื่อทรง สรางพระอุโบสถเสร็จก็ทรงเสด็จทิวงคต พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกจึง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระราชูปถัมภในการสรางถาวรวัตถุที่ยัง คางอยูจนเสร็จสมบูรณแลวพระราชทานนามใหมวา “วัดอมรินทรารามราชวรวิหาร

หลังจากนี้ไดมีการบุรณปฏิสังขรณครั้งใหญในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระจุลจอม- -เกลาเจาอยูหัว และมีการสรางทางรถไฟสายเพชรบุรีเริ่มตนจากปากคลองบางกอก-

๗๘

-นอยไดมีการตัดที่ดินดานหนาวัดเพื่อสรางทางรถไฟจนกระทั่งเฉียดผานพระอุโบสถ เกาของวัดที่เรียกวา “โบสถนอย” จนตองรื้อดานหนาของพระอุโบสถออกไป ๑ หอง เหลือเพียง ๓ หองเทานั้น เมื่อเกิดสงครามมหาอาเซียบูรพาขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๗ ฝายพันธมิตรได ทิ้งระเบิดที่สถานีรถไฟบางกอกนอย วัดอมรินทรารามไดรับ ความเสียหายมาก เหลือเพียงโบสถนอย มณฑปพระพุทธบาทจําลอง พระพุทธฉาย จําลอง และตําหนักเขียวซึ่งเปนตําหนักของ สมเด็จเจาฟา กรมพระยาเทพสุดาวดี

พระเชษฐภคินีในรัชกาลที่ ๑ พระชนนีในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ซึ่งโปรดเกลา ใหรื้อมาพระราชทานเปนกุฎิสงฆ เมื่อสงครามสงบจึงไดซอมแซมวัดอมรินทราราม ขึ้นใหม ปจจุบันเปนที่ประดิษฐานของมณฑปพระพุทธบาทจําลอง พระพุทธฉาย จําลอง

๓. วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

เปนพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร ตั้งอยูที่เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร วัดระฆังโฆสิตารามเปนวัดโบราณสรางในสมัยอยุธยา เดิมชื่อ วัดบางวาใหญ ในสมัยธนบุรี สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงสรางพระราชวังใกล

วัดบางวาใหญ โปรดเกลาฯ ใหยกเปนพระอารามหลวงและยกใหเปนที่ประทับของ สมเด็จพระสังฆราช ในสมัยรัตนโกสินทร รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟา- -จุฬาโลก วัดบางวาใหญอยูในพระบรมราชูปถัมภของเจานายวังหลัง คือ สมเด็จพระ- -เจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยาเทพสุดาวดี พระเชษฐภคินี ของพระบาทสมเด็จ- -พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และเปนพระชนนีของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงมี

พระตําหนักอยูติดกับวัด ไดทรงบูรณปฏิสังขรณ รวมกับพระบาทสมเด็จ พระพุทธ- -ยอดฟาจุฬาโลกและไดขุดพบระฆังลูกหนึ่ง ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหนําไปไวที่วัดพระศรี- -รัตนศาสดาราม โดยทรงสรางระฆังชดเชยให วัดบางวาใหญ ๕ ลูก จากนั้นได

พระราชทานนามวัดใหมวา “วัดระฆังโฆสิตาราม” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระ- -จอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนชื่อ วัดระฆังโฆสิตาราม เปน “วัดราชคัณ- -ฑิยาราม” (คัณฑิ แปลวาระฆัง) แตประชาชนไมนิยมเรียกชื่อนี้ ยังคงเรียกวา วัดระฆัง วัดระฆังโฆสิตารามมีหอพระไตรปฎกซึ่งเปนสถาปตยกรรมที่สวยงามมาก เคยเปนพระตําหนัก และหอประทับนั่งของพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ขณะทรงรับ ราชการในสมัยกรุงธนบุรี และโปรดเกลาฯใหรื้อถวายวัดเมื่อเสด็จขึ้น ครองราชสมบัติ

๗๙

๔. วัดเครือวัลยวรวิหาร

เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยูที่เขตบางกอกใหญ

กรุงเทพมหานคร วัดเครือวัลยเปนวัดโบราณที่สรางในสมัยอยุธยา ตอมาในสมัย รัตนโกสินทร รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว เจาพระยาอภัยภูธร (นอย บุณยรัตพันธุ) สมุหนายกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย บุตรเจาพระยาศรีธรรมธิราช (บุญรอด ตนสกุลบุณยรัตพันธุ) และเจาจอมเครือวัลย

ในรัชกาลที่ ๓ ซึ่งเปนธิดาเจาพระยาอภัยภูธร ไดสถาปนาขึ้นใหม แตอยางไรก็ตาม หลักฐานเกี่ยวกับการสรางวัดเครือวัลยและปที่สรางยังไมเปนที่ยุติ เพราะปรากฏใน ตํานาน พระอารามหลวงและทําเนียบสมณศักดิ์ ซึ่งเจาพระยาวิชิตวงษวุฒิไกร (ม.

ร.ว.คลี่ สุทัศน) เรียบเรียงวา เจาพระยาอภัยภูธรในรัชกาลที่ ๓ และพระบาท- -สมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดทรงปฏิสังขรณดวย ตอมาเจาพระยาภูธราภัย (นุช บุณยรัตพันธุ) ไดปฏิสังขรณแตปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร

รัชกาลที่ ๓ วา เจาจอมเครือวัลยบุตรีเจาพระยาอภัยภูธรเปนผูสรางแตยังไมแลวเสร็จ ก็ถึงแกกรรมเสียกอน พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว จึงโปรดเกลาฯ ใหสราง ตอแลวพระราชทานนามวา “วัดเครือวัลยวรวิหาร” ซึ่งไดพระนามมาจากนาม เจาจอม เครือวัลย วัดนี้จึงเปนวัดของสกุล บุณยรัตพันธุ

๕. วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

ตั้งอยูที่เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร เปนวัดที่มีความเกาแกสรางในสมัย อยุธยาเดิมเรียกวา “วัดมะกอก” ตอมาเรียกวา “วัดมะกอกนอก” เพราะมีการสรางวัด หนึ่งชื่อวัดมะกอก ในตําบลเดียวกัน แตอยูในคลองบางกอกใหญ ในสมัยสมเด็จ พระเจากรุงธนบุรี ทรงโปรดเกลาฯใหบูรณปฏิสังขรณ แลวเปลี่ยนชื่อใหมวา “วัดแจง"

เมื่อทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชวังที่ประทับนั้นทรงใชปอมวิชัยประสิทธิ์ขาง ฝงตะวันตกเปนที่ตั้งพระราชวังแลวขยายอาณาเขตพระราชฐานจนวัดแจงเปนวัดใน พระราชวัง ในสมัยรัตนโกสินทร รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดทรงบูรณปฏิสังขรณ และพระราชทานนามใหมวา “วัดอรุณราชธาราม” ทรงมี

พระราชดําริใหสรางพระปรางคหนาวัดใหสูงขึ้นแตสิ้นรัชกาลเสียกอน จนถึงรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาใหเสริมพระปรางคขึ้นและ

๘๐

ใหยืมมงกุฏที่หลอสําหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเปนพระประธานวัดนางนองมา ตอบนยอดนภศูล ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ให

บูรณปฏิสังขรณหลายรายการ แลวอัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จ พระ- -พุทธเลิศหลานภาลัยมาบรรจุไวที่พระพุทธอาสนของพระประธาน ในพระอุโบสถแลว พระราชทานนามใหมวา "วัดอรุณราชวราราม" ปจจุบันเปนที่ประกอบกิจทางศาสนา และสถานที่ทองเที่ยวสําคัญของชาติ

๖. วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร

พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยูริมคลองบางกอกใหญฝงเหนือ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร วัดโมลีโลกยารามสรางในสมัยอยุธยาเดิมชื่อ วัดทายตลาด เพราะอยูตอจากตลาดเมืองธนบุรี ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจา- -ตากสินมหาราชโปรดเกลาฯ ใหรวมอุปจารวัดแจง(วัดอรุณราชวราราม) กับวัดทาย- -ตลาดเขาไวในเขตพระราชวัง วัดทายตลาดจึงเปนวัดที่ไมมีพระสงฆจําพรรษาตลอด รัชกาล ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ปรดเกลาฯ ให

นิมนตพระสงฆมาจําพรรษาที่วัดทายตลาดและวัดแจง วัดทายตลาดเปลี่ยนชื่อเปน วัดพุทไธศวรรย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย และในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนนามเปน วัดโมลีโลก- -สุธาราม ตอมาเรียกกันวา วัดโมลีโลกยาราม แตไมมีหลักฐานปรากฏเรื่อง

การเปลี่ยนชื่อ สันนิษฐานวาเดิมคงเรียกกันวาวัดโมลีโลก ตอมาคงตองการใหมีคําวา อารามอยูทาย จึงเพิ่มวา วัดโมลีโลกยาราม

๗. วัดกัลยาณมิตรวรมหหาวิหาร

เปนอารามหลวงชั้นโท เจาพระยานิกรบดินทร (โต) ตนสกุลกัลยาณมิตร อุทิศที่และซื้อที่บริเวณยานกุฎีจีนสรางถวายพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ในป พ.ศ. ๒๓๐๘ พระราชทานนามวาวัดกัลยาณมิตร เนื่องจากความสัมพันธที่

ใกลชิดระหวางพระองคและเจาพระยานิกรบดินทร ภายในวัด ประดิษฐานพระพุทธ- -รูปขนาดใหญ คนจีนยานนั้นเรียกวา “ซําปอกง” หรือ “ซําปอหุดกง” พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวพระราชทานนามวา “พระพุทธไตรรัตนนายก” มีสถาปตย- -กรรมและศิลปผสมผสานแบบไทยจีนตามลักษณะที่นิยมในสมัยรัชกาลที่ ๓