• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ ๒

๒. ทัศนียทรัพยากรทางวัฒนธรรม ไดแก

๒๘

ก. ภูมิทัศนของเมือง หรือสวนของเมืองสมัยใหม เชน ยานธุรกิจที่สวยงามจอแจเต็ม ไปดวย แสงสี และชีวิต ชีวาของนครสมัยใหม….

ข. เมืองเกาหรือสวนเกาของเมือง เชน ยานอาคารเกาแก ในยุคหนึ่งที่

ยังคงสภาพและเอกลักษณชัดเจน และยังเปนเมืองที่มีผูคนอาศัยอยู

ค. ศาสนสถานและโบราณสถาน เชน วัด ศาลเจา โบสถศาสนาตาง ๆ เจดียเกา โบสถเกา

ง. อุทยาน สวนสาธารณะ

จ. สถาปตยกรรม” (เดชา บุญค้ํา ๒๕๔๒: ๒)

๒.๓. การอนุรักษทัศนียภาพ

๒.๓.๑. ความหมายและความเปนมา

การอนุรักษเปนวิธีการอยางหนึ่งที่ใชในการสงวนรักษา สิ่งที่มีคามีความสําคัญ ทางประวัติศาสตร ใหคงอยูไมสูญหาย หรือเปลี่ยนแปลงไป แนวความคิดในการอนุรักษมี

วิวัฒนาการมาอยางตอเนื่องยาวนาน โดยเฉพาะประเทศทางตะวันตกซึ่งจากบทความ เรื่องการอนุรักษสถาปตยกรรมไดสรุปโดยยอไวดังนี้

ความเปนมาและพัฒนาการในการอนุรักษสงวนรักษา ตามการปฏิบัติเชิงกายภาพได

ถูกรวมเรียกวาเปนการบูรณปฏิสังขรณ (Restoration) แนวความคิดในการบูรณะ หมายถึง การทําใหโบราณสถานคืนสูลักษณะที่เคยปรากฏในอดีต และสามารถทําให

มันเปนสวนที่เขากันไดกับโลกปจจุบัน ไดมีการประกาศนิยามขึ้นเปนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.

๒๓๓๗ ในการประชุมแหงชาติที่ประเทศฝรั่งเศส และตอจากนั้นวิธีในการอนุรักษ

สถาปตยกรรมตามแนวความคิดตาง ๆ ก็ไดเกิดขึ้นโดยตอเนื่องกันมา ป .. ๒๓๕๓-๒๓๗๓

ถือหลักการประกอบขึ้นใหมจากของเดิมและการทําเลียนแบบสวนที่ขาดหายไป (Reproduction) เปนที่นิยมอยางกวางขวางในการบูรณะโบราณสถานสมัยคลาสสิคที่

กรุงโรมประเทศอิตาลี

ป ..๒๓๗๓

Stylistic Restoration เปนการซอมแซมอาคารตามสมัยนิยมใหมีความสมบูรณโดย อาคารไมอาจมีลักษณะเฉพาะของตนเองเชนวิหาร Notre Dame ในกรุงปารีส

ป .. ๒๓๙๓

Romantic Restoration แนวความคิดในอังกฤษ โดยการเคารพสถาปตยกรรมใน รูปแบบที่มันเปนอยู สถาปตยกรรมในอดีตแมจะเปนซากผุพังก็มีคุณคาเฉพาะใน

๒๙

ตัวเอง

ป .. ๒๔๒๓-๒๔๒๖

Historical Restoration โดย Luca Beltrami เปนการปฏิสังขรณโดยการคาดเดา รูปแบบโดยการยึดลักษณะดั้งเดิมของอาคารนั้น

ป .. ๒๔๒๖

Camillo Boitto ประกาศหลักการบูรณะ ๔ ประการ

๑. สถาปตยกรรมนั้น นอกจากจะมีคุณคาสําหรับการศึกษาแลว ยังเปนหลักฐานแสดง ประวัติศาสตรของชาติและประชาชนจึงสมควรไดรับการเคารพ การทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นกับสถาปตยกรรมยอมเปนการหลอกลวงและเปนการกระทําที่ผิด ๒. สถาปตยกรรมควรไดรับการเสริมสรางความแข็งแรงมากกวาการซอมแซม และ การซอมแซมมากกวาการปฏิสังขรณ การเพิ่มเติมโดยทําเปนของใหมควรหลีกเลี่ยง ๓. หากการตอเติมมีความจําเปนเพื่อความแข็งแรงของอาคาร หรือ

เพื่อความจําเปนอื่นใดการกระทํานั้นใหตั้งอยูบนพื้นฐานของขอมูลที่เพียงพอ ลักษณะ และวัสดุที่ใชตอเติมควรแตกตางจากของเดิม แตรูปลักษณะของอาคารดั้งเดิมยัง สามารถดํารงไวได

๔. สวนตอเติมที่เกิดขึ้นในยุคสมัยตาง ๆ ถือเปนสวนของสถาปตยกรรมนั้นใหพึงรักษา ไว ยกเวนจะเปนการปกปดหรือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของอาคารนั้น ป .. ๒๔๗๔

Athen Charter การประชุมนานาชาติดานการบูรณะปฏิสังขรณที่กรุงเอเธนสยอมรับ หลักการของ Boitto และเสนอแนะใหมีการบํารุงรักษาสถาปตยกรรมเปนประจํา และ ควรใชเทคนิคระบบงานกอสรางที่ทันสมัยที่สุดในการบูรณะปฏิสังขรณ

ป .. ๒๔๗๕

Scientific Restoration ทฤษฎีการบูรณะโดย G.Giovannoni เปนการใชความรู

ทางวิทยาศาสตรเขาชวย ป .. ๒๔๘๘

Critical Restoration การปฏิสังขรณเชิงวิกฤต เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนการผสมผสานแนวความคิดตาง ๆ ในการรักษาสถาปตยกรรมที่มีคุณคาใหมีเนื้อแท

ดั้งเดิมมากที่สุด ไมมีกฎตายตัววาวิธีการใดเหมาะสมกับอาคารประเภทใด โดยยึดใหคง รูปแบบดั้งเดิมที่มีคุณคาเปนหลัก

๓๐

ป .. ๒๕๐๗

ICOMOS Standard การประชุมนานาชาติเพื่อการอนุรักษโบราณสถานระหวาง ประเทศที่เมืองเวนิชจัดโดยสภาการโบราณสถานระหวางประเทศ (ICOMOS) เกิด กฎบัตรสากลแหงเมืองเวนิช (Venice Charter) โดยมีพื้นฐานจากกฎบัตรแหงเมือง เอเธนส และเปนที่ยอมรับไปทั่วโลก ซึ่งตอมาไดมีการปรับปรุงและแกไขเนื้อหาตาง ๆ เรื่อยมาจนถึงปจจุบัน”(วีระ โรจนพจนรัตน ๒๕๔๒: ๖-๗)

การอนุรักษสามารถจําแนกไดหลากหลายวิธีการ และระดับความเขมขนของการ สงวนรักษา ซึ่งจากบทความเรื่อง “การอนุรักษสถาปตยกรรมและชุมชน” ไดอธิบายไวดังนี้

เพื่อใหเกิดความเหมาะสมที่สําหรับความเปนอยูของสังคมและเปดโอกาสใหมนุษยไดมี

การพัฒนาอยางถูกตองเหมาะสมเพราะถาการอนุรักษหมายเฉพาะเปนเพียงการควบ- -คุมเขมงวดหามแตะตองหามเปลี่ยนบานเมืองก็จะไมเจริญ เมื่อมีอุปสรรคมีขอหามมาก แตเกิดความตองการสูง ก็จะเกิดการฝาฝนลักลอบคอรรัปชั่นและการทําลายขึ้น โดยยากจะควบคุมไวได ดังนั้นจึงไดมีวิวัฒนาการกาอนุรักษขึ้นในรูปแบบที่มี

ความหมายและความเขมงวดในการปฏิบัติที่แตกตางกัน โดยอาจแบงไดดังนี้

๑. Conservation / การอนุรักษ

หมายถึง กระบวนการสงวนรักษาที่ไมเขมงวด และเปนลักษณะผอนคลาย เพื่อปกปอง สิ่งแวดลอมภูมิทัศนหรือสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรไวมิใหสูญหาย หรือถูก เปลี่ยนไปโดยการใชสอยหรือการบริโภคที่ไมเหมาะสม หรือกลาวโดยหลักการก็คือเปน การพิทักษรักษาสภาพ และเอกลักษณไว แตไมหวงหามในการใช...

๒. Preservation / การพิทักษรักษา

หมายถึง กระบวนการปองกันโดยการเสริมสรางความมั่นคงถาวร การสรางใหมดวย วิธีการและวัสดุเดิมการรักษาสภาพเดิมหรือการปรับปรุงสภาพและสงเสริมคุณภาพ เฉพาะของสิ่งแวดลอม ภูมิทัศน หรืออาคารสถานที่ใหคงอยูตลอดไปอยางถาวร โดย จากพจนานุกรมภูมิสถาปตยกรรม ใหคํานิยามวาเปน…. กิจกรรมทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสงเสริมใหความเปนธรรมชาติแทหรือภูมิทัศนดั้งเดิมคงอยูตลอดไปโดยปราศจาก การแตะตองหรือการเปลี่ยนแปลงใด การพิทักษรักษามีความเขมงวดกวดขันและจํากัด การใชบริเวณดังกลาวเปนอยางสูงทั้งนี้เพื่อปกปองมิใหเกิดความเสียหายขึ้นแมแตนอย หรืออาจกลาวอีกนัยหนึ่งไดวาเปนลัทธิปกปองที่เขมงวดโดยมีการอนุรักษเปนตัวเสริม ...

๓๑

๓. Restoration / การบูรณะ

หมายถึง การบูรณะสิ่งแวดลอมภูมิทัศน หรืออาคารสถานที่ๆเสื่อมโทรมหรือหมดสภาพ ขึ้นมาใหม ใหมีรูปรางลักษณะและสภาพเหมือนเดิมโดยเลือกยุคที่เหมาะสมกับสภาพ หรือรูปรางลักษณะ รวมทั้งสไตลที่จะบูรณะใหเปนไปนั้นจะตองมีความถูกตองอยาง เขมงวด เชน การบูรณะวัดเกาบางแหงในอยุธยาที่เหลือแตฐานและผนังบางสวน ขึ้นมาใหม

๔. Rehabilitation / การฟนฟูปฏิสังขรณ

หมายถึง การฟนฟูสภาพของภูมิทัศนอาคารหรือสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรให

กลับอยูในสภาพที่ใชประโยชนได ซึ่งโดยปกติจะทําในระดับเพียงการซอมแซมใหมี

สภาพดี และอาจรวมถึงการปรับสภาพเล็กนอยเพื่อใหสะดวกแกการใชงาน ระดับของ การรักษาความแทดั้งเดิมเปนรอง ...

๕. Reconstruction / การสรางของเกาขึ้นมาใหม

หมายถึง การสรางภูมิทัศนหรืออาคารแบบดั้งเดิมขึ้นมาใหมจากอาคารหรือสถานที่

ที่เปนประวัติศาสตรเดิมที่เสื่อมสูญไปแลว โดยสรางขึ้น ณ ที่ใดก็ได ไมจําเปนตองเปน ที่เดิม แตสรางเหมือนเดิมทุกประการตั้งแตฐานติดดินขึ้นไป รูปแบบที่สรางจะตองเก็บ หรือคนควาวิจัยจากเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร ภาพถาย หรือภาพวาดเกา ความแทขึ้นอยูกับเอกสารหลักฐานและทุนทรัพยที่เอื้ออํานวย ตัวอยางอาคารเชน พระที่นั่งศรีสรรเพชรในเมืองโบราณบางปู โดยสรางจากการรังวัดฐานรากและจาก คําพรรณนาในพงศาวดาร

๖. Interpretation / การแปลความหมาย

หมายถึง การรักษาลักษณะดั้งเดิมของสิ่งแวดลอม ภูมิทัศน และอาคารสถานที่เกาแก

ไวบาง โดยสอดใสการใชสอยใหม ๆ เขาไปตามภาวะเศรษฐกิจของยุคใหม การ คนควาวิจัยถือเปนองคประกอบหลักของการออกแบบซึ่งจะตองนําลักษณะและการใช

สอยใหมมาใช เชน การสราอาคารใหมในเขตเมืองเกาไมวาจะเปนศูนยบริการ ภัตตาคาร

โรงแรม ที่พักอาศัยโดยใชลักษณะเดิม รวมถึงการนําเอาองคประกอบเกาทาง

สถาปตยกรรมมาใช เชน การใชกาแล หรือการนําเอาวัสดุทองถิ่นมาใชและกอสรางใน ลักษณะเกาแก

๗. Reservation / การสงวนไวใช

หมายถึง การสงวนไวใชประโยชนในภายหนา ซึ่งการใชประโยชนในภายหนาอาจ เปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิมเล็กนอย หรือเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิงก็ได ตัวอยางเชน

๓๒

ปาสงวนที่อนุญาตใหคนเขาไปเก็บของปาได ที่ดินสงวนของทางราชการกองทัพ ที่ดิน สงวนเพื่อการผังเมือง สาธารณูปโภค การคมนาคม ที่ดินสงวนไวใหชนพื้นเมืองดั้งเดิม เชน อินเดียนแดง หรือที่ดินสงวนเพื่อเปนทรัพยากร เชน แหลงแร” (เดชา บุญค้ํา ๒๕๔๓: ๘-๙)

๒.๓.๒. แนวความคิดในการอนุรักษทัศนียภาพ

วิธีการที่ใชในการอนุรักษทัศนียภาพ มีความแตกตางจากการอนุรักษวัตถุ

สถาปตยกรรม เนื่องจากวัตถุประสงคของการอนุรักษที่แตกตางกัน เชน ขอบเขตที่เกี่ยวของ กับการพิจารณาเพื่อการอนุรักษ ความเขมขนของวิธีการ องคประกอบที่เกี่ยวของ นโยบาย และกฎหมายที่จะนํามาใช แนวความคิดตางๆ ที่ใชปฏิบัติกันอยูและแนวคิดใหมๆ