• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ ๔

ตาราง ๔.๑. ตอ) การประเมินศักยภาพของสถานที่

๑. สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง

๑.๑. สาเหตุภายใน ๔๖ แหง คิดเปน รอยละ ๘๖.๗๙ ๑.๒. สาเหตุภายนอก ๔๗ แหง คิดเปน รอยละ ๘๘.๖๗

๒. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

๒.๑ การบดบัง ๓๖ แหง คิดเปน รอยละ ๖๗.๙๒

๒.๒ การปรากฏอยูเบื้องหลัง ๔๐ แหง คิดเปน รอยละ ๗๕.๔๗ ๒.๓ การแทรกอยูในระยะเดียวกัน ๓๖ แหง คิดเปน รอยละ ๖๗.๙๒ ๒.๔ การสูญหาย การรื้อถอน ๔๕ แหง คิดเปน รอยละ ๘๔.๙๑ ๒.๕ การปรับปรุง ดัดแปลง ตอเติม ๕๓ แหง คิดเปน รอยละ ๑๐๐ ๓. ไมสามารถหาจุดถายภาพพบ หรือมีการเปลี่ยนแปลงบริเวณจุดบันทึกภาพ ๙ แหง คิดเปน รอยละ ๑๖.๙๘

๑๒๔

ภาพประกอบ ๔.๑. แสดงแผนที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งสํารวจและเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ ชําระ โดย สมเด็จกรมพระยา ดํารงราชานุภาพ และแสดงแผนที่กรุงเทพมหานครจาก ระบบ GIS

๑๒๕

ภาพประกอบ ๔.๒. แสดงการเปรียบเทียบภาพถายในอดีตและปจจุบัน มุมมองที่๑

๑๒๖

ภาพประกอบ ๔.๓. แสดงการเปรียบเทียบภาพถายในอดีตและปจจุบัน มุมมองที่ ๒

๑๒๗

๔.๓. การวิเคราะหมุมมองดวยการสรางหุนจําลองโดยคอมพิวเตอร

การคาดการณ ลักษณะทางกายภาพในอนาคตที่อาจเกิดขึ้นกับทัศนียภาพเมืองในกรณีศึกษา จะทําการวิเคราะหโดยสรางหุนจําลองสามมิติดวยโปรแกรม Form Z ซึ่งเปนโปรมแกรมสราง

ภาพสามมิติที่มีประสิทธิภาพสูงและแมนยําในการสรางภาพ Perspective โดยมีขั้นตอนในการ วิเคราะหดังนี้

๑. การรวบรวมขอมูลทางกายภาพของเมืองในพื้นที่ๆเกี่ยวของกับทัศนียภาพเมืองบริเวณ กรณีศึกษา และสรางหุนจําลอง โดยใชขอมูลจาก แผนที่สองมิติระบบ GIS (Geographic Information Systems) ของกรุงเทพมหานคร แบบโบราณสถานสําคัญของจาก

กรมศิลปากร และขอมูลความสูงอาคารจากการสํารวจ

๒. ตั้งคามุมมอง (View Parameters) โดยกําหนดจุดมอง (View Point) จุดสนใจ (Point of Interest) ในตําแหนงเดียวกับจุดบันทึกภาพที่ปรากฏในอดีต เมื่อตั้งคามุมมอง (View Parameters) แลวเสร็จ จึงปรากฏภาพจําลองทัศนียภาพเมืองในปจจุบัน

๓. สรางหุนจําลองอาคารในอนาคตโดยรอบ ภายใตกรอบของกฎหมาย (ดูรายละเอียดใน บทที่ ๒.) และขีดความสามารถในการสรางอาคารสูงในประเทศไทย โดยกําหนดคุณสมบัติ

ของอาคารโดยรอบสถานที่สําคัญใหมีความโปรงใส เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการวิเคราะห

จะปรากฏทัศนียภาพเมืองในอนาคตตามภาพประกอบ ๔.๕. แลวจึงเปรียบเทียบกับ ภาพถาย ปจจุบัน(จากการสํารวจ)ทั้งนี้ยังมิไดพิจารณาเรื่องระยะถอยรนตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร

เมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบระหวางภาพถายปจจุบันกับภาพในอนาคตที่จําลองโดย ระบบคอมพิวเตอรแลวพบวา มีโอกาสที่จะเกิดการรบกวนทัศนียภาพเมืองที่สําคัญได ๒ กรณี

คือ

๑. การรบกวนทัศนียภาพจากอาคารสูงที่อาจเกิดขึ้นเบื้องหลังในพื้นที่พาณิชยกรรม (พื้นที่สีแดงตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร) ซึ่งอยูนอกพื้นที่ควบคุมตามขอบัญญัติ

กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๙ (ดูภาคผนวก ก.) จะเริ่มปรากฏอาคารสูงพนเสน ขอบฟาเดิม(Existing Skyline) เมื่ออาคารนั้นมีความสูงโดยประมาณที่ ๑๕๒ เมตร ๒. การรบกวนทัศนียภาพจากอาคารสูงที่อาจเกิดขึ้นเบื้องหลังในพื้นที่บริเวณที่๓ ตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๓๙ (ดูภาคผนวก ก.) ที่กําหนดใหมี

ความสูงไดไมเกิน ๔๐ เมตร โดยจะเริ่มปรากฏอาคารสูงพนเสนขอบฟาเดิม(Existing Skyline) เมื่ออาคารนั้นมีความสูงโดยประมาณที่ ๒๙ เมตร และในพื้นที่บริเวณที่ ๔ ที่กําหนดใหมีความสูงไดไมเกิน ๗๐ เมตร จะเริ่มปรากฏอาคารสูงพนเสนขอบฟาเดิม เมื่ออาคารนั้นมีความสูงโดยประมาณที่ ๔๐ เมตร

๑๒๘

ซึ่งหากพิจารณาประกอบกับกฎกระทรวงที่ ๔๑๔ (ผังเมืองรวม)กําหนดใหพื้นที่

ดังกลาวเปนที่ดินสําหรับที่อยูอาศัยหนาแนนมาก และใหปลูกสรางอาคารอาคารขนาดใหญ- -พิเศษได จึงมีโอกาสที่จะเกิดการรบกวนทัศนียภาพไดหากมีการปลูกสรางอาคารพักอาศัย ที่มีพื้นที่ไมเกินหนึ่งหมื่นตารางเมตร และมีความสูงพนเสนขอบฟาดังกลาว

๔.๔. สรุปปญหาการเปลี่ยนแปลงของทัศนียภาพเมือง

จากการวิเคราะหพบวา การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของเมือง อันไดแก การใชที่ดิน เสนทางสัญจร สถานที่สําคัญ โบราณสถาน โครงการของรัฐบาล เอกชน สงผลกระทบตอทัศนียภาพ ของเมือง ในบริเวณเกาะรัตนโกสินทรมาโดยตลอด ซึ่งสามารถสรุปลักษณะผลกระทบที่เกิดขึ้น ตามลําดับ(จากมากที่สุด-นอยที่สุด) ไดดังนี้

๑. การปรับปรุงดัดแปลงตอเติม ๒. การสูญหาย รื้อถอน

๓. การปรากฏอยูเบื้องหลัง ๔. การแทรก