• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิจัย

2. ความชุ่ม ชื้นในช่อง

ตารางที่ 23 ผลการหมุนแกนองค์ประกอบที่มาของรายได้ ความชุ่มชื้นในช่องปาก และอุปกรณ์ท า ความสะอาดช่องปากแบบออโธโกนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์

ชื่อองค์

ประกอบ

ตัวแปรย่อย ค่าน ้าหนักองค์ประกอบ

1 2 3

1. แหล่งที่มา

2. องค์ประกอบด้านประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปาก 3 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) มีเป้าหมายในการกระท าสิ่งต่าง ๆ เพื่อสุขภาพช่องปากที่ดี 2) เชื่อว่าสิ่งที่เป็นผลดี

และผลเสียต่อช่องปากและฟันที่เกิดขึ้น เป็นบทเรียนให้ดูแลช่องปากและฟันให้ดีขึ้น และ 3) มีที่

ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปาก

3. องค์ประกอบด้านความสามารถจัดการความเจ็บป่วยในช่องปาก 3 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) สามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพช่องปาก 2) มีวิธีจัดการ ปัญหาความเจ็บป่วยในช่องปากได้หลายแนวทาง และ 3) เชื่อว่าสภาวะสุขภาพช่องปากเป็นผลมา จากการปฏิบัติตัว

4. องค์ประกอบด้านการรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) มี

สติพร้อมที่จะแก้ปัญหาความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นตลอดเวลา และ 2) สามารถประเมินความเจ็บป่วยว่า จะแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือขอความช่วยเหลือจากคนอื่น

5. องค์ประกอบด้านรอยโรคของฟันแท้ 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) ฟันผุ และ 2) ฟันสึก

6. องค์ประกอบด้านจ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้และคู่สบฟันหลังแท้ 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) จ านวนคู่สบฟันหลังแท้ และ 2) จ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้

7. องค์ประกอบด้านโรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณน ้าลาย 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) โรคความดันโลหิตสูง และ 2) โรคหลอดเลือดหัวใจหรือหลอดเลือดสมอง

8. องค์ประกอบด้านอาการผิดปกติของเซลล์และเนื้อเยื่อ 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) โรคมะเร็ง และ 2) แผลในปาก

9. องค์ประกอบด้านพยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร 1 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) อาการขากรรไกรค้าง

10. องค์ประกอบด้านที่มาของรายได้ 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) ได้รับเงินจากลูกหลาน และ 2) รายได้ของตนเอง

11. องค์ประกอบด้านความชุ่มชื้นในช่องปาก 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) ปริมาณน ้าดื่ม ในแต่ละวัน และ 2) อาการคอแห้งหรือริมฝีปากแห้ง

12. องค์ประกอบด้านอุปกรณ์ท าความสะอาดช่องปาก 2 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) ใช้

ไหมขัดฟันท าความสะอาดซอกฟัน และ 2) เปลี่ยนแปรงสีฟันทุก 3 เดือนหรือเมื่อขนแปรงบาน ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบที่ท านายคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ

องค์ประกอบที่ท านายคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ ได้แก่ แรงสนับสนุนจาก ครอบครัว ประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปาก ความสามารถจัดการความ

เจ็บป่วยในช่องปาก การรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก รอยโรคของฟันแท้ จ านวนฟันแท้ที่ใช้

งานได้และคู่สบฟันหลังแท้ โรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณน ้าลาย อาการผิดปกติของเซลล์

และเนื้อเยื่อ พยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร และความชุ่มชื้นในช่องปาก มีความสัมพันธ์กับ คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปาก อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนแหล่งที่มาของ รายได้และลักษณะอุปกรณ์ท าความสะอาดช่องปากไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพ ช่องปาก ดังตารางที่ 24

ตารางที่ 24 ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบ Stepwise ในการพยากรณ์คุณภาพชีวิตในมิติ

สุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ (*p<.05, **p<.01 R=0.741, Adjusted R2=0.543, Se = 7.273) องค์ประกอบ

ที่ท านายคุณภาพชีวิตใน มิติสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ

สัมประสิทธิ์

การถดถอย Coefficient

(B)

ความคลาด เคลื่อน มาตรฐาน

(S.E.)

Beta t-value ค่า นัยส าคัญ

ค่าคงที่ (Constant) -6.479 1.854 3.495 0.001**

ความชุ่มชื้นในช่องปาก 2.217 0.322 0.225 6.883 0.000**

แรงสนับสนุนจากครอบครัว 0.771 0.100 0.215 7.680 0.000**

ประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้าน

สุขภาพช่องปาก 0.861 0.156 0.149 5.515 0.000**

อาการผิดปกติของเซลล์และเนื้อเยื่อ 4.322 0.667 0.166 6.482 0.000**

ความสามารถจัดการความเจ็บป่วยใน

ช่องปาก 0.572 0.158 0.101 3.628 0.000**

รอยโรคของฟันแท้ 1.951 0.345 0.153 5.651 0.000**

จ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้และคู่สบฟัน

หลังแท้ 1.449 0.255 0.150 5.687 0.000**

พยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร 4.097 1.060 0.096 3.863 0.000**

โรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณ

น ้าลาย 1.739 0.468 0.105 3.718 0.000**

การรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก 0.423 0.202 0.056 2.087 0.037**

จากตารางที่ 24 ปัจจัยท านายคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากคือ ความชุ่มชื้นในช่อง ปาก แรงสนับสนุนจากครอบครัว ประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปาก อาการ ผิดปกติของเซลล์และเนื้อเยื่อ ความสามารถจัดการความเจ็บป่วยในช่องปาก รอยโรคของฟันแท้

จ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้และคู่สบฟันหลังแท้ พยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร โรคประจ าตัวที่

ส่งผลต่อการลดปริมาณน ้าลาย และการรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก ที่ร่วมกันท านายคุณภาพ ชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P-value < 0.001) ซึ่งองค์ประกอบทั้ง 10 องค์ประกอบสามารถอธิบายความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากได้ร้อยละ 54.3 (R2 =0.543) สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังต่อไปนี้

คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ (Y) = -6.479 + 2.217 XHUMIDITY + 0.771XFAMILY + 0.861XCONSULT + 4.322XTISSUE + 0.572XMANAGE + 1.951XLESION + 1.449XTEETH + 4.097XTMD + 1.739XXEROSTOMIA + 0.423XLITERACY

โดยที่ XHUMIDITY คือ ค่าคะแนนดิบของความชุ่มชื้นในช่องปาก XFAMILY คือ ค่าคะแนนดิบของแรงสนับสนุนจากครอบครัว

XCONSULT คือ ค่าคะแนนดิบของประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปาก XTISSUE คือ ค่าคะแนนดิบของอาการผิดปกติของเซลล์และเนื้อเยื่อ

XMANAGE คือ ค่าคะแนนดิบของความสามารถจัดการความเจ็บป่วยในช่องปาก XLESION คือ ค่าคะแนนดิบของรอยโรคของฟันแท้

XTEETH คือ ค่าคะแนนดิบของจ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้และคู่สบฟันหลังแท้

XTMD คือ ค่าคะแนนดิบของพยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร

XXEROSTOMIAคือ ค่าคะแนนดิบของโรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณน ้าลาย XLITERACY คือ ค่าคะแนนดิบของการรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก

จากสมการท านายในรูปของคะแนนดิบ สามารถอธิบายได้ว่า ถ้าคะแนนคุณภาพชีวิตใน มิติสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น 1 คะแนน จะท าให้คะแนนความชุ่มชื้นในช่องปากเพิ่มขึ้น 2.217 คะแนน คะแนนแรงสนับสนุนจากครอบครัวเพิ่มขึ้น 0.771 คะแนน คะแนนประสบการณ์และ แหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น 0.861 คะแนน คะแนนอาการผิดปกติของเซลล์และ เนื้อเยื่อเพิ่มขึ้น 4.322 คะแนน คะแนนความสามารถในการจัดการความเจ็บป่วยในช่องปากเพิ่มขึ้น 0.572 คะแนน คะแนนรอยโรคของฟันแท้เพิ่มขึ้น 1.951 คะแนน คะแนนจ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้

และคู่สบฟันหลังแท้เพิ่มขึ้น 1.449 คะแนน คะแนนพยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกรเพิ่มขึ้น 4.097 คะแนน คะแนนโรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณน ้าลายเพิ่มขึ้น 1.739 คะแนน และคะแนน การรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปากเพิ่มขึ้น 0.402 คะแนน โดย 54.3 % ของการเปลี่ยนแปลง

คะแนนคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากขึ้นกับความชุ่มชื้นในช่องปาก แรงสนับสนุนจาก ครอบครัว ประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพช่องปาก อาการผิดปกติของเซลล์และ เนื้อเยื่อ ความสามารถจัดการความเจ็บป่วยในช่องปาก รอยโรคของฟันแท้ จ านวนฟันแท้ที่ใช้งาน ได้และคู่สบฟันหลังแท้ พยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร โรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณ น ้าลาย และการรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก ซึ่งมีความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าเท่ากับ 7.27 เมื่อแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน (Z-score) แล้ว ได้สมการท านายในรูปคะแนน มาตรฐานดังนี้

คะแนนมาตรฐานคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ(ZQORAL) = 0.225 ZHUMIDITY + 0.215ZFAM + 0.149ZCONSULT + 0.166 ZTISSUE + 0.101ZMANAGE + 0.153ZLESION + 0.150ZTEETH + 0.096 ZTMD + 0.105ZXEROSTOMIA + 0.056ZLITERACY

โดยที่ ZHUMIDITY คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของความชุ่มชื้นในช่องปาก ZFAMILY คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของแรงสนับสนุนจากครอบครัว

ZCONSULT คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของประสบการณ์และแหล่งที่ปรึกษาด้านสุขภาพ ช่องปาก

ZTISSUE คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของอาการผิดปกติของเซลล์และเนื้อเยื่อ

ZMANAGE คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของความสามารถจัดการความเจ็บป่วยในช่องปาก ZLESION คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของรอยโรคของฟันแท้

ZTEETH คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของจ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้และคู่สบฟันหลังแท้

ZTMD คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของพยาธิสภาพของกระดูกขากรรไกร

ZXEROSTOMIAคือ ค่าคะแนนมาตรฐานของโรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดปริมาณน ้าลาย ZLITERACY คือ ค่าคะแนนมาตรฐานของการรู้เท่าทันความเจ็บป่วยในช่องปาก

ดังนั้นการเสริมพลังความแข็งแกร่งในชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตใน มิติสุขภาพช่องปากประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ 24 ตัวชี้วัด ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 จ านวนฟันแท้ที่ใช้งานได้และคู่สบฟันหลังแท้ ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) จ านวนฟันแท้ในปากที่ใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 20 ซี่ และ 2) จ านวนคู่สบฟันหลังแท้

ไม่น้อยกว่า 4 คู่สบ

องค์ประกอบที่ 2 รอยโรคของฟันแท้ ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ฟันผุ และ 2) ฟันสึก

องค์ประกอบที่ 3 โรคประจ าตัวที่ส่งผลต่อการลดลงของปริมาณน ้าลาย ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) โรคความดันโลหิตสูง และ 2) โรคหลอดเลือดหัวใจหรือหลอดเลือดสมอง

องค์ประกอบที่ 4 ความผิดปกติของเซลล์และเนื้อเยื่อ ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่