• Tidak ada hasil yang ditemukan

นิยามความหมาย

Dalam dokumen Values Practice (Halaman 58-63)

1. สภาพการณ์ในปัจจุบัน

1.2. ประเทศสหรัฐอเมริกา

2.1.1 นิยามความหมาย

ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ความคิดความเชื่อความสามารถความชัดเจนที่กลุ่มชนได้

จากประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและการด้ารงชีพในระบบนิเวศหรือสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรมที่ได้มีการพัฒนาการสืบสานกันมาเป็นผลของการ ใช้สติปัญญาปรับตัวกับสภาวะต่างๆในพื นที่ที่กลุ่มชนนั นตั งหลักแหล่งถิ่นฐานอยู่และได้

แลกเปลี่ยนสังสรรค์ทางวัฒนธรรมกับกลุ่มอื่นจากพื นที่ในสิ่งแวดล้อมอื่นที่ได้มีการติดต่อสัมพันธ์

กันแล้วรับเอามาปรับเปลี่ยนน้ามาสร้างประโยชน์หรือแก้ปัญหาในสิ่งแวดล้อมและบริบททางสังคม วัฒนธรรมของกลุ่มนั นภูมิปัญญาจึงมีทั งภูมิปัญญาอันเกิดประสบการณ์ในพื นที่ภูมิปัญญาที่มาจาก

ภายนอกและภูมิปัญญาที่ผลิตใหม่หรือผลิตซ ้าเพื่อการแก้ปัญหาและการปรับตัวให้สอดคล้องกับ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป

ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom หรือ Indigenous Knowledge) ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ นในบริบททางกายภาพและวัฒนธรรมทางปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับ สิ่งแวดล้อมเป็นความรู้ของชุมชนกลุ่มชนต่าง ๆ ที่ได้สั่งสมมาสืบทอดและพัฒนามาเป็นเวลานับ ร้อยนับพันปี ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีลักษณะใกล้เคียงกับองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์คือเป็นองค์ความรู้

ที่ได้ผ่านการพิสูจน์ทดลองและผ่านกระบวนการคัดสรรปรับปรุงและพัฒนาความคิดอย่างเป็น ระบบมาแล้วแต่ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างกันจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ตรงที่ภูมิปัญญาท้องถิ่นมี

ลักษณะจ้าเพาะเจาะจงเฉพาะท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์และการพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกันระหว่างมนุษย์สัตว์พืชพลังธรรมชาติดวงวิญญาณที่ดินแหล่งน ้าและลักษณะภูมิประเทศ ในอาณาบริเวณแห่งใดแห่งหนึ่งโดยเฉพาะ

ดังนั นจึงอาจกล่าวได้ว่า ภูมิปัญญาหมายถึงความรู้ความเชื่อความสามารถของมนุษย์

ในการแก้ปัญหาปรับตัวจัดความสัมพันธ์และการด้ารงชีวิตให้ผสมผสานสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติสังคมวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของกลุ่มชนเป็นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ของตนเองและบรรพบุรุษที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาจึงเป็นความรู้แบบองค์รวม (Holistic) ที่มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับระบบสังคมวัฒนธรรมรวมถึงความเชื่อทางศาสนาหรือ สิ่งศักดิ์สิทธ์

2.1.2 ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรน ้า

กรมทรัพยากรน ้า ได้จัดประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากร น ้าไว้ 8 ประเภท ประกอบด้วย

1) ผู้มีความรู้ในท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้านคือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับผู้มี

ความรู้ในท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้านซึ่งมีความรู้ในด้านต่างๆอันเป็นที่นับถือและเชื่อถือของคน ท้องถิ่น เช่น ผู้ใหญ่วิบูลย์เข็มเฉลิมผู้ใช้ความรู้ด้านวนเกษตรกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน ้าตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงณบ้านห้วยหินต.ลาดกระทิงอ.สนามชัยเขตจ.ฉะเชิงเทราเป็นต้น

2) ความรู้ความสามารถคือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับความรู้การสะสม ความสามารถและประสบการณ์ในด้านต่างๆที่เกิดขึ นและมีการถ่ายทอดสืบต่อมาตั งแต่บรรพบุรุษ ถึงปัจจุบัน

3) ความเชื่อพิธีกรรมศาสนาคือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อพิธีกรรม ศาสนาวัฒนธรรมประเพณีซึ่งเกี่ยวข้องกับจิตใจความเชื่อที่มีการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษเช่นความ เชื่อเรื่องผีขุนน ้าความเชื่อเรื่องป่าแดปอพิธีการสืบชะตาแม่น ้าการบวชป่าเป็นต้น

4) ระเบียบกฎเกณฑ์คือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการก้าหนดกฎระเบียบ จารีตชุมชนกฎเกณฑ์ต่างๆที่เกิดขึ นในชุมชนและมีการปฏิบัติสืบต่อกันมา

5) เครื่องมืออุปกรณ์คือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถใน การประดิษฐ์คิดค้นน้าวัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาท้าเป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์

ในการด้ารงชีวิต

6) สิ่งก่อสร้างด้วยวัสดุท้องถิ่นคือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการน้าวัสดุ

อุปกรณ์หรือทรัพยากรต่างๆที่มีอยู่ในธรรมชาติมาก่อสร้างเป็นสิ่งต่างๆเพื่อให้ในการด้ารงชีวิตเช่น การท้าฝายแม้วเป็นต้น

7) การจัดการการปฏิบัติคือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับใช้ความรู้ในการบริหาร จัดการทรัพยากรน ้าจัดสรรน ้าการปฏิบัติในการบริหารจัดการทรัพยากรน ้าที่สอดคล้องกับ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน

8) วัฒนธรรม/วิถีชีวิตคือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการด้ารงชีวิตซึ่งเป็นวิถี

ชีวิตหรือวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั น ๆ

2.1.3 ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรน ้า

ลักษณะส้าคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นเรื่องของการใช้ความรู้ทักษะความเชื่อและ พฤติกรรมซึ่งเกิดขึ นภายในชุมชนอีกทั งยังเป็นความรู้แบบองค์รวมที่เกิดจากการเชื่อมโยงความรู้

หรือกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับ ธรรมชาติแวดล้อมและคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติมีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเองมี

วัฒนธรรมเป็นพื นฐานเป็นเรื่องของการแก้ปัญหาการจัดการการปรับตัวการเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคมค้านึงถึงวิกฤติการณ์ภายในชุมชนอันได้แก่การด้ารงชีวิตของมนุษย์และ สิ่งมีชีวิตต่างทั งคนสัตว์ผลผลิตของชุมชนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติมีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamic) เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและมีพัฒนาการอยู่ตลอดเวลาไม่มีการบันทึกอย่างเป็น ระบบจึงไม่อาจถ่ายทอดโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ของโลกสมัยใหม่แต่ภูมิปัญญาท้องถิ่นจะถูก สืบทอดโดยผ่านวิถีชีวิตการปฏิบัติและการบอกเล่าต่อ ๆ กันมาซึ่งเป็นการยากที่บุคคลภายนอกผู้ซึ่ง ไม่ได้สัมผัสกับวิถีชีวิตดังกล่าวจะเรียนรู้ได้

ดังนั นกรมทรัพยากรน ้าจึงได้สรุปลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการ ทรัพยากรน ้าไว้ 7 ประเภท ประกอบด้วย

1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพน ้า 2) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรน ้า

3) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน ้า ได้แก่ การใช้

ประโยชน์ด้านการเกษตร การใช้ประโยชน์ด้านการอุปโภคบริโภค และการใช้ประโยชน์ด้านพลังน ้า 4) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรน ้าและป่าต้นน ้า ได้แก่ การอนุรักษ์/ฟื้นฟูแหล่งน ้า และการอนุรักษ์/ฟื้นฟูป่าต้นน ้า

5) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและจัดหาแหล่งน ้า ได้แก่ การจัดท้า ฝายต้นน ้า และการจัดท้าประปาภูเขา

6) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอุทกภัย

7) ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 2.1.4 การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ที่มีคุณค่าจะด้ารงอยู่ได้จะมีกระบวนการส่งต่อหรือถ่ายทอดความรู้ซึ่ง กระบวนการถ่ายทอดความรู้ทางภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นการถ่ายทอดจากการพัฒนาความรู้การสั่งสม ประสบการณ์ในชุมชนจากรุ่นสู่รุ่นต้องใช้เวลาความใกล้ชิดในเนื อหาแต่ละเรื่องแต่ละขั นตอน มีลักษณะที่เป็นความรู้รวมเป็นกลุ่มวัฒนธรรม (Traditional Knowledge) ผ่านทางคติความเชื่อ บริบททางพิธีกรรมและประเพณีต่าง ๆ หรือความรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ส่วน บุคคลเกิดขึ นบนพื นฐานการรับรู้และฝึกฝนที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล

กระบวนการถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติสาระส้าคัญอยู่ที่

การให้ความส้าคัญต่อคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีผลต่อการด้ารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตและ การจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติที่มีความผสมกลมกลืนกันซึ่งกระบวนการ ถ่ายทอดความรู้มีวิธีการการถ่ายทอดที่แตกต่างกันในแต่ละระดับเช่นระดับครอบครัวและเครือญาติ

การเรียนรู้เกิดจากการท้ากิจกรรมร่วมกันในครัวเรือนการท้าไร่ท้านาการประกอบพิธีกรรมร่วมกัน ในครัวเรือนหรือการละเล่นโดยมีคนเฒ่าคนแก่หรือพ่อแม่คอยสั่งสอนส่วนในระดับชุมชน กระบวนการเรียนรู้มิได้ผูกขาดอยู่ในสถาบันใดสถาบันหนึ่งเป็นการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดจิตส้านึกใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเช่นการประกอบพิธีกรรมต่างๆประจ้าหมู่บ้านซึ่งกระบวนการ ถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการด้ารงชีวิตที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติจะมีระบบ การถ่ายทอดที่ครอบครัวและชุมชนโดยถ่ายทอดผ่านทางประเพณีความเชื่อค้าสอนบทเพลงโดยผู้

อาวุโสเป็นผู้น้าและศูนย์รวมจิตใจเพื่อให้สอดคล้องและกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมเพื่อการด้าเนิน ชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุขและสามารถใช้ทรัพยากรท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืน

2.1.5 ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรน ้า

ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรน ้าหมายถึงความรู้มโนทัศน์ความเชื่อ ประเพณีระเบียบข้อห้ามวิธีการความสามารถตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นผลผลิต ของปัจเจกบุคคลหรือชุมชนที่ถูกน้ามาใช้เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน ้าในชุมชนท้องถิ่นใน ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่การจัดหาแหล่งน ้า/การใช้ประโยชน์การอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน ้าการพัฒนา แหล่งน ้าและการจัดการองค์กร/กลุ่มผู้ใช้น ้าฯลฯได้อย่างสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

สังคมและวัฒนธรรมชุมชนซึ่งสิ่งเหล่านี ล้วนเกิดขึ นจากความเฉลียวฉลาดของแต่ละคนการปฏิบัติ/

ทดลองในชีวิตประจ้าวันและการเรียนรู้แล้วสั่งสมเป็นประสบการณ์และถ่ายทอดสืบต่อกันมา

Dalam dokumen Values Practice (Halaman 58-63)

Garis besar

Dokumen terkait