• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม

Dalam dokumen Values Practice (Halaman 75-78)

3) ก้าหนดกติกาในการระดมพลังสมอง

2.5 แนวคิดเกี่ยวกับทุนทางสังคม

ทุนทางสังคมหมายถึงฐาน (ทุน) ทรัพยากรธรรมชาติฐาน (ทุน) วัฒนธรรมประเพณี

ค่านิยมเกี่ยวกับความเอื ออาทรและความสามัคคีที่ท้าให้คนมีความเอื อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันมีระบบคิด หรือวิธีคิดวิธีปฏิบัติการรวมความคิดความรู้สติปัญญาก้าลังและความช้านาญที่มีอยู่ไปใช้ในการ จัดการแก้ไขปัญหาร่วมกันรวมทั งมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอีกด้วยทุนทางสังคมเป็น คุณค่าเดิมที่มีอยู่แล้วในสังคมไทยทุนทางสังคมสามารถก่อให้เกิดพลังที่จะขับเคลื่อนชุมชนได้พลัง ในที่นี ได้แก่พลังแห่งปัญญาหรือความรู้ซึ่งเป็นพลังที่จะช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้จริง และยั่งยืน

ทุนทางสังคมหมายถึงผลรวมของสิ่งดีงามต่างๆที่มีอยู่ในสังคมทั งในส่วนที่ได้จากการสั่ง สมและการต่อยอดรวมถึงการรวมตัวของคนที่มีคุณภาพเพื่อสร้างประโยชน์ต่อส่วนรวมบนพื นฐาน ของความไว้เนื อเชื่อใจสายใยแห่งความผูกพันและวัฒนธรรมที่ดีงามซึ่งหากน้ามาพัฒนาและใช้

ประโยชน์อย่างเหมาะสมแล้วจะเป็นปัจจัยส้าคัญในการพัฒนาประเทศชาติและสังคมให้สมดุลและ ยั่งยืนได้ทุนทางสังคมของชุมชนสามารถจ้าแนกออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้ดังนี

1) ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนเช่นทรัพยากรดินทรัพยากรป่าไม้สัตว์ป่า ทรัพยากรน ้าและแหล่งน ้าทรัพยากรแร่ธาตุ ฯลฯ

2) ทุนทรัพยากรบุคคลอันหมายถึงผู้รู้ในชุมชนเช่นก้านันผู้ใหญ่บ้านนายกองค์การ บริหารส่วนต้าบลปราชญ์ชาวบ้านผู้เฒ่าในชุมชนผู้น้าทางศาสนาและพิธีกรรม ฯลฯ

3) ทุนทางภูมิความรู้และภูมิปัญญาอันหมายถึงวิธีคิดความรู้ความฉลาดและการ ประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์ในการด้าเนินชีวิตเช่นความรู้ในเรื่องสมุนไพรพื นบ้านการ รักษาโรคด้วยยาสมุนไพรความรู้ในเรื่องการประกอบอาหารพื นบ้านความรู้ในเรื่องการดูแลรักษา ทรัพยากรของชุมชนภูมิปัญญาในการดูแลป่าต้นน ้า ฯลฯ

4) ทุนทางองค์กรและสถาบันในชุมชนอันประกอบด้วยวัดหรือศาสนสถานสถานี

อนามัยต้าบลโรงเรียนที่ท้าการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส้านักงานสหกรณ์การเกษตรและองค์กร อื่น ๆ ที่จัดตั งขึ นโดยชุมชน ฯลฯ

5) ทุนทางสถานที่/โครงสร้างพื นฐานและถาวรวัตถุเช่นหอกระจายข่าวชุมชนที่อ่าน หนังสือพิมพ์ประจ้าหมู่บ้านศาลาประชาคมศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจ้าต้าบลโครงข่ายถนน เชื่อมโยงระหว่างต้าบลแหล่งน ้าประจ้าหมู่บ้านระบบประปาภูเขาและบ่อบาดาล ฯลฯ

ดังนั นหากจะใช้ทุนทางสังคมในแต่ละพื นที่ที่มีอยู่เพื่อประโยชน์ส้าหรับการจัดการ ทรัพยากรน ้าจึงเป็นไปในลักษณะของการใช้ทุนทางสังคมให้เป็นกลไกที่เอื อให้ชุมชนหันมาร่วมมือ ร่วมใจเพื่อด้าเนินกิจกรรมการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน ้าได้อย่างเต็มศักยภาพมีความสอดคล้องกับ วิถีและวัฒนธรรมที่สอดแทรกผูกรวมไปกับแบบแผนการด้ารงชีวิตซึ่งในที่สุดแล้วย่อมสะท้อนภาพ

การอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนกับสิ่งแวดล้อมที่กลมกลืนมีการเอื อประโยชน์ซึ่งกันและกันและ สอดคล้องกันไปตามวิถีธรรมชาติอันเป็นเป้าประสงค์สูงสุดการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน ้า 2.6.1 ลุ่มน ้าและพื นที่ลุ่มน ้า

กล่าวไว้ว่าพื นที่ลุ่มน ้าหมายถึงหน่วยของพื นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน ้าเป็นพื นที่รับ น ้าฝนของแม่น ้าสายหลักในลุ่มน ้านั นๆเมื่อฝนตกลงมาในพื นที่ลุ่มน ้าน ้าจะไหลลงสู่ล้าธารสายย่อย ๆ (Sub-order) แล้วรวมกันออกสู่ล้าธารสายใหญ่และรวมกันออกสู่แม่น ้าสายหลัก (Mainstream) จน ไหลออกปากน ้า (Outlet) ในที่สุด

2.6.2 การจัดการลุ่มน ้า

ความหมายของการจัดการลุ่มน ้าหมายถึงการจัดการพื นที่เพื่อให้ได้น ้าที่มีปริมาณมาก พอคุณภาพดีการไหลสม่้าเสมอพร้อมทั งควบคุมเสถียรภาพของดินลดความเสียหายจากน ้าท่วมและ จัดการใช้ทรัพยากรลุ่มน ้าอย่างมีประสิทธิภาพ

การจัดการลุ่มน ้าจึงเปรียบเสมือนการจัดการทั งโครงสร้างและบทบาท/หน้าที่เป็นการ จัดการแบบผสมผสานหมายถึงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในลุ่มน ้าทุกชนิดหรือทุกประเภทต้องวาง แผนการจัดการแบบผสมผสานทั งแนวตั งและไม่ว่าจะเป็นการจัดการป่าไม้สัตว์ป่าดินและที่ดินหิน และแร่เมือง/ชุมชนอุตสาหกรรมฯลฯในท้านองเดียวกันต้องวางแผนการจัดการแบบผสมผสาน ระหว่างพื นที่สูงที่เนินและที่ราบให้รองรับและสัมพันธ์ซึ่งกันและกันถ้าเกิดความผิดพลาดในการ จัดการตอนหนึ่งตอนใดของลุ่มน ้ามักส่งผลกระทบต่อตอนอื่น ๆ เสมอ

ความหมายของปรัชญาหมายถึงความส้านึกปฏิบัติถ้าท้าในสิ่งนั น ๆ แล้วจะได้รับ ความส้าเร็จและสัมฤทธิ์ดังที่ตั งเป้าประสงค์เอาไว้ดังนั นปรัชญาการจัดการลุ่มน ้าคือความเชื่อได้

กระท้ากิจกรรมทางการจัดการลุ่มน ้าที่ตั งเป้าเอาไว้สัมฤทธิ์ผลทางการจัดการลุ่มน ้านั่นคือลักษณะ การไหล/การมีให้และคุณภาพเป็นไปตามต้องการโดยต้องมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่เป็นไปตามหลักวิชาการซึ่งปรัชญาทางการจัดการลุ่มน ้าคือ “เก็บน ้าไว้ในดินเก็บดินไว้

กับที่และลดน ้าฤดูฝนเพิ่มน ้าฤดูร้อน”

2.6.3 หลักการจัดการลุ่มน ้า

คือการจัดการลุ่มน ้าเป็นการจัดการพื นที่ซึ่งมีสิ่งแวดล้อมหลากหลายรวมกันอยู่เป็น ระบบพื นที่ลุ่มน ้าหรือระบบนิเวศลุ่มน ้าดังนั นถ้าจะกล่าวว่าการจัดการลุ่มน ้าก็คือการจัดการ สิ่งแวดล้อมในระบบลุ่มน ้าเพื่อให้ท้างานร่วมกันสร้างผลผลิตหรือแสดงบทบาทของลุ่มน ้าในการ

“ให้น ้า” ซึ่งเป็นตัวบ่งชี ความสามารถและประสิทธิภาพการจัดการสิ่งแวดล้อมในระบบลุ่มน ้าเป็น การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนตลอดไปให้น ้าและผลผลิตอื่น ๆ ควบคู่กันไปอย่างสม่้าเสมอทั งหมด นี อยู่ภายใต้หลักการจัดการลุ่มน ้าทั ง 3 ขั นตอนได้แก่

1) การวางแผนการใช้ที่ดิน/การแบ่งเขตลุ่มน ้าพื นที่ลุ่มน ้าแต่ละแห่งแต่ละพื นที่มี

ลักษณะทั งสมบัติทางเคมีฟิสิกส์และชีววิทยาแตกต่างกันจึงท้าให้ดินแต่ละแห่งหรือแต่ละจุดมี

สมรรถนะในการน้ามาใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันไปในการจัดการลุ่มน ้าจึงจ้าเป็นต้องแบ่งชั น ประเภทที่ดินทั งลุ่มน ้าตามสมรรถนะการใช้ประโยชน์ก่อนการด้าเนินการใด ๆ ทั งสิ นเพื่อให้การ จัดการลุ่มน ้าได้รับผลตอบแทนตามวัตถุประสงค์อย่างแน่นอน

2) การใช้ทรัพยากรลุ่มน ้าและมาตรการควบคุมตามวิธีการอนุรักษ์การใช้

ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกต้องตามหลักการและวิธีการอนุรักษวิทยาไม่ฟุ่มเฟือยและเป็นไปด้วยความ ระมัดระวังเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยป้องกันมลพิษสิ่งแวดล้อมในลุ่มน ้าเพื่อให้การก้าหนดแผนการใช้

ทรัพยากรที่ถูกต้องควรจะมีหลักด้าเนินการตามประเภทของทรัพยากรเป็นส้าคัญดังนี

2.1) ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่รู้จักหมดสิ นซึ่งได้แก่อากาศดินน ้าเป็นต้นทรัพยากร เหล่านี เป็นสิ่งจ้าเป็นต่อมนุษย์และสัตว์ทั ง ๆ ที่มีใช้ตลอดเวลาแต่ถ้าใช้แบบสุรุ่ยสุร่ายไม่ระมัดระวัง ทรัพยากรเหล่านี มีการปนเปื้อนจนไม่เอื ออ้านวยต่อการใช้ประโยชน์ต่อไปจึงต้องมีหลักการใช้ให้

ถูกต้อง

(1) ต้องใช้ทรัพยากรนั น ๆ ปราศจากการปนเปื้อนของมลพิษเพื่อให้การใช้

นั นไม่มีพิษมีภัยต่อร่างกายและทรัพยากรอื่น ๆ

(2) ต้องรักษาทรัพยากรที่สัมพันธ์หรือที่เกี่ยวข้องกันไม่สร้างปัญหา สภาพแวดล้อม

(3) ต้องรักษาชนิดปริมาณสัดส่วนและการกระจายของทรัพยากรลุ่มน ้าให้

สามารถรักษาสมดุลทางธรรมชาติให้ดีที่สุด

2.2) ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไปซึ่งได้แก่สินแร่น ้ามันปิโตรเลียมก๊าซธรรมชาติ

เป็นต้นการใช้ทรัพยากรเหล่านี นอกจากจะท้าให้เกิดปัญหาการลดน้อยลงของทรัพยากรเหล่านี แล้ว ของเสียจากทรัพยากรเหล่านี มักก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงด้วยเช่นท้าให้น ้า เสียอากาศเสียดินเสียหลักการในการใช้ทรัพยากรเหล่านี คือ

(1) ต้องใช้ทรัพยากรเหล่านี ตามความจ้าเป็นไม่ฟุ่มเฟือยด้วยความระมัดระวัง (2) ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

(3) ต้องใช้ไม่ให้เกิดปัญหามลพิษ

2.3) ทรัพยากรที่ใช้แล้วมีทดแทนได้ซึ่งได้แก่ทรัพยากรประมงป่าไม้มนุษย์สัตว์

เป็นต้นเป็นทรัพยากรที่ค่อนข้างอ่อนแอเมื่อมีภัยมากระทบก็จะส่งผลกระทบตามมาหลักการใช้

ทรัพยากรเหล่านี คือ

(1) ต้องใช้ส่วนที่เพิ่มพูนของทรัพยากรนั น ๆ

(2) ต้องควบคุมและรักษาส่วนที่เป็นต้นทุน (Stock) ให้มีศักยภาพในการ ผลิตส่วนที่เพิ่มพูนได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดไป

(3) ต้องก้าจัดมลพิษที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อต้นทุน (Stock) ของทรัพยากรนั น ๆ (4) ใช้ทรัพยากรที่เหมาะสมต่อทรัพยากรนั น ๆ

3) การควบคุมของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อมในการจัดการลุ่มน ้าขั นตอนที่ส้าคัญที่

จ้าเป็นต้องมีคือมาตรการควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อมซึ่งการควบคุมในที่นี มิใช่เป็นพิษที่เป็นสารเคมี

ที่เป็นเชื อโรคหรือลักษณะกายภาพมิให้เปลี่ยนไปแต่อาจเป็นการป้องกันมลพิษทางสังคมและ เศรษฐกิจด้วย

2.6.4 แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน ้า

แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน ้าตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ได้ก้าหนดไว้ในเรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้ดังนี

Dalam dokumen Values Practice (Halaman 75-78)

Garis besar

Dokumen terkait