• Tidak ada hasil yang ditemukan

วิธีการดําเนินการวิจัย

8. พัฒนาแผนการตลาด

9. สรุปและนําเสนอแผนการตลาดใหกับ ผูบริหาร

กรอบแนวคิดการวิจัย มีลําดับขั้นตอนดังนี้

1. คนควาจากขอมูลทุติยภูมิ เปนการคนควาหาขอมูลสภาพแวดลอมทางการตลาด มูลคาตลาด แนวโนมของตลาด นโยบายการเมือง การสนับสนุนในดานตางๆ เศรษฐกิจ สภาพสังคม การดําเนินชีวิตของคนในปจจุบัน เทคโนโลยีและนวัตกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจอาหารสุขภาพ และอาหารมังสวิรัติ รวมถึงแนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

2. ศึกษาแผนการตลาดของรานอาหารตางๆ เพื่อเปนแนวทางในการทําแผนการตลาด เกี่ยวกับองคประกอบของแผนการตลาดที่จะพัฒนาขึ้น รวมถึงเปนแนวทางในการออกแบบสอบถาม

3. ออกแบบแบบสอบถามผูบริโภค ใหครอบคลุมกับองคประกอบของแผนการตลาด ที่ตองการ และศึกษาคูแขงรานอาหารมังสวิรัติที่ตั้งอยูในเขตพื้นที่ใกลเคียงกับถนนพุทธมณฑลสาย 3

4. เก็บขอมูล ทั้งจากแบบสอบถามกับกลุมตัวอยางและขอมูลรานอาหารคูแขงที่เปน รานอาหารมังสวิรัติ ที่ตั้งอยูบริเวณใกลเคียงถนนพุทธมณฑลสาย 3

5. สังเคราะหขอมูล โดยนําขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลจากแบบสอบถามและการศึกษา รานอาหารคูแขงมาสังเคราะห

6. ออกแบบและกําหนดแผนการตลาด โดยการวิเคราะหภาพรวมของธุรกิจจากการศึกษา และเก็บขอมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ ดังนี้

การวิเคราะหสภาพแวดลอมทั่วไป (General environment)

การวิเคราะหสภาพแวดลอมทางการแขงขัน (Competitive environment)

การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในและภายนอกองคกร (SWOT Analysis)

การวิเคราะหสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix Strategy)

การวิเคราะหสวนแบงตลาดและตลาดเปาหมาย (STP)

7. นําเสนอขอเสนอทางการตลาด 7P’s เมื่อสังเคราะหและกําหนดแผนการตลาดเรียบรอย 8. พัฒนาแผนการตลาด โดยระบุวัตถุประสงคทางการตลาด กลยุทธการตลาดสวนประสม ทางการตลาด (7P’s) การวัดผลและควบคุมการปฏิบัติงาน แผนสํารอง

9. สรุปและนําเสนอแผนการตลาดใหกับผูบริหาร

3.4 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูศึกษาไดแบงเปน 2 สวนคือ

แบบสอบถาม (Questionnaire) จํานวน 400 ชุด ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งแบง เนื้อหาของแบบสอบถามไดดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน โดยขอคําถามเปนลักษณะแบบสอบถามปลายปด (Closed Ended Response Questions) ใหเลือกตอบ

สวนที่ 2 พฤติกรรมการบริโภคอาหารสุขภาพของผูบริโภค โดยขอคําถามเปนลักษณะ แบบสอบถามปลายปด (Closed Ended Response Questions) ใหเลือกตอบ

สวนที่ 3 ความคิดเห็นและความคาดหวังของกลุมตัวอยางที่มีตอรานอาหารมังสวิรัติที่

เคยรับประทาน โดยขอคําถามเปนลักษณะแบบสอบถามปลายปด (Closed Ended Response Questions) ใหเลือกตอบ

3.5 วิธีการสรางแบบสอบถาม

1. ศึกษาวิธีการสรางแบบสอบถามจากเอกสาร งานวิจัย และทฤษฏีที่เกี่ยวของ 2. สรางแบบสอบถามเพื่อถามความคิดเห็น ซึ่งแบงเปน 3 สวน คือขอมูลทั่วไปของ ผูตอบแบบสอบถาม พฤติกรรมการบริโภคอาหารสุขภาพของผูบริโภคและความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง ที่มีตอรานอาหารมังสวิรัติที่เคยรับประทานและ รานอาหารทั่วไป

3. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นมาเสนอตออาจารยที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบเนื้อหาและ เสนอแนะขอปรับปรุงแกไข

4. ทําการแกไขปรับปรุงแบบสอบถามตามขอเสนอแนะใหถูกตอง

5. นําแบบสอบถามฉบับปรับปรุงเสนอใหอาจารยที่ปรึกษาอนุมัติกอนแจกแบบสอบถาม 6. แจกแบบสอบถามไปยังกลุมตัวอยาง

3.6 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

1. เก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ ไดแก การเก็บขอมูลโดยแบบสอบถาม เปนการเลือกกลุม ตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ที่มีอายุ 25 ปขึ้นไปและอาศัยอยูในพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล จํานวน 420 ชุด เมื่อไดขอมูลแลวนํามาสรุปผลเปนขอมูลเชิงสถิติ

2. ขอมูลทุติยภูมิ ไดแก ขอมูลภาพรวมอุตสาหกรรม การแขงขันของคูแขงตางๆ งานวิจัยและแผนการตลาดที่เกี่ยวของ ทําการเก็บขอมูลจากการสืบคนดวยอินเตอรเน็ตและหองสมุดตางๆ แลววิเคราะหผลสรุปเปนลายลักษณอักษร

3.7 การวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา

1 วิเคราะหขอมูลปฐมภูมิจากการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติที่ไดจากแบบสอบถาม แลวนําขอมูลมาวิเคราะหถึงนโยบายและกลยุทธที่อยูในแผนการตลาด

2 วิเคราะหขอมูลทุติยภูมิ การวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร บทความ ขาว นิตยสาร สื่อ อิเล็กทรอนิกส รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวของ เปนการวิเคราะหขอมูลเพื่อใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัย ถึงสถานการณและแนวโนมของธุรกิจ เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนการตลาดของรานอาหารมังสวิรัติ

3.8 ระยะเวลาที่ใชในการทําวิจัย

ระยะเวลาดําเนินการวิจัยตั้งแต เดือนตุลาคม 2559 – เมษายน 2561

บทที่ 4