• Tidak ada hasil yang ditemukan

สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม

บทที่ 4 ผลจากการศึกษา

4.1 ผลจากการศึกษาสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของธุรกิจรานอาหาร

4.1.1 แนวโนมของธุรกิจรานอาหาร

4.1.3.3 สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม

เทรนดอาหารป 2560 จากการสํารวจและเก็บขอมูลของ World Food Market พบวา เทรนดอาหารในป 2560 ประกอบดวย 10 อยางคือ อาหารบํารุงสุขภาพ (Wellness Tonics) ในรูปสารสกัดและน้ําดื่มเพื่อสุขภาพที่มีสวนผสมจากพืชสมุนไพร ผลิตภัณฑที่ไดจากวัตถุดิบเหลือใช

(Product from By Products) ผลิตภัณฑจากมะพราว (Coconut Everything) อาหารญี่ปุน นอกเหนือจาก ซูชิ (Japanese Food, Beyond Sushi) เครื่องปรุงรสที่มีความสรางสรรค (Creative Condiments) เสนพาสตาสมัยใหม (Rethinking Pasta) พลังอาหารสีมวง (Purple Power) มุงสูความงาม (On-the-Beauty) อาหารที่รับประทานเพื่อความงาม กินแบบยืดหยุน (Flexitarian) การทานอาหารที่ยืดหยุน และเนน ความสะดวกรวดเร็วเปนหลัก (Mindful Meal Prep) นิยมทานอาหารพรอมรับประทานมากขึ้น (ที่มา http://fic.nfi.or.th/ สืบคน 30 ก.ค. 60) นอกจากนั้นบทความของ Economic Intelligence Center (EIC) ยังพบวาเทรนดอาหารและเครื่องดื่มที่นาสนใจ 5 เทรนดก็มีความคลายคลึงกับขอมูลของ World Food Market ในสวนของอาหารสําเร็จรูปพรอมทาน รวมถึงอาหารและเครื่องดื่มเพื่อความงาม นอกจากนั้น ยังมีเทรนดของอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารออรแกนิก ผลิตภัณฑอาหารที่ปราศจากกลูเตน อาหารที่มี

สัดสวนของน้ําตาลและแคลอรี่ต่ํา อาหารฮาลาลและอาหารเพื่อผูสูงอายุ (ที่มา: 5 เทรนดอาหารและ เครื่องดื่มที่กําลังมาแรงและนาจับตามองในอนาคต www.scbeic.com, 22 เมษายน 2015 สืบคน 29 กันยายน 2559)

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพมากขึ้น แนวโนมพฤติกรรมผูบริโภคที่

เปลี่ยนแปลงไป โดยใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น ทั้งในเรื่องของการรับประทานอาหาร ที่มีประโยชนตอรางกาย อาหารปลอดภัยไมมีสารเคมีเจือปน รวมถึงอาหารที่ดีตอสุขภาพที่มีไขมันต่ํา น้ําตาลนอย รวมถึงมีการคิดคํานวณแคลอรีกอนรับประทานอาหารแตละอยาง ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นกับ ทั้งคนรุนใหม ที่ยังอายุนอย แตก็เริ่มดูแลสุขภาพของตนเอง กลุมคนทํางานและผูสูงอายุก็เริ่มเลือก รับประทานอาหารที่ดีตอรางกายมากขึ้น เนื่องจากตองการมีรูปรางที่ดี ตองการสรางสมดุลใหกับรางกาย รวมถึงตองการลดความเสี่ยงจากการเปนโรคตางๆ ซึ่งเห็นไดจากมูลคาตลาดอาหารอาหารเพื่อสุขภาพ ของไทยในป 2558 มีมูลคาประมาณ 170,000 ลานบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 42.5 จากป 2553 ที่มี

มูลคาประมาณ 119,311 ลานบาท (ศูนยวิจัยกสิกร, กุมภาพันธ 2560)

พฤติกรรมการดูคอนเทนตผานวีดีโอออนไลน หลายปที่ผานมาคนไทย ดูวีดีโอผานชองทางออนไลนมากขึ้น โดยเฉพาะ Youtube ซึ่งคนไทยมีสถิติการเขาชมติดอันดับ 10 ของโลก เนื่องจากมีผูเขาถึงอินเทอรเน็ตรอยละ 62 ของประชากรไทย และรอยละ 53 มีการใชอินเทอรเน็ต ทุกวัน เพิ่มขึ้นจากรอยละ 47 ในป 2558 รอยละ 61 ของคนไทยเลือกดู Youtube มากกวาโทรทัศน และ รอยละ 62 ใชเวลากับ Youtube มากกวาโทรทัศน โดยเฉพาะวัยรุนที่มีอายุตั้งแต 16 -24 ป เพราะสามารถ เลือกชมคอนเทนตที่ชอบได ซึ่งใน 1 วันดู Youtube ชวงเวลา 09.00 น. – 18.00 น. และ 23.00 น. – 04.00น.

สําหรับชวงเวลา 18.00 น. – 23.00 น. และ 04.00 น. – 06.00 น. ที่คนนิยมดูโทรทัศนมากกวา Youtube เพราะเปนชวงละครและขาวที่หลายคนติดตามอยู (http://positioningmag.com สืบคน 30 ก.ค. 2560)

พฤติกรรมการใชบริการ LINE สถิติพบวา LINE ประเทศไทยเปนตลาด ที่ใหญเปนอันดับ 2 ของ LINE ทั่วโลก โดยมีผูใชบริการรอยละ 83 ของจํานวนประชากรไทย ทั้งนี้

สติกเกอร LINE มีผูดาวนโหลดมากกวา 500 ลานครั้ง มีผูอาน LINE WEBTOON เฉลี่ย 3 ลานคนตอเดือน มีการใช Rabbit LINE Pay มากกวา 2 ลานคน และมีผูใช LINE@ มากกวา 1 ลานบัญชี (https://www.it24 hrs.com สืบคน 30 ก.ค. 2560)

พฤติกรรมคนไทยมีการใช Social Media สูงมาก โดยมีผูใช Facebook สูงถึง 41 ลานราย ติดอันดับ 8 ของโลก มีการเติบโตรอยละ 17 และมีจํานวนเพจถึง 700,000 เพจ LINE มีผูใชสูงถึง 33 ลานคน อินสตาแกรมมีจํานวนผูใช 7.8 ลานคน เติบโตรอยละ 74 สวน และทวิตเตอรนั้น มีจํานวนผูใช 5.3 ลานคน เติบโตรอยละ 18 โดยชวงเวลาคนโพสท Facebook มากที่สุดคือชวงเวลา 10.00 – 12.00น. รองลงมาเปนชวงเวลา 20.00 – 21.00น. สําหรับทวิตเตอร ชวงวลาที่มีการทวีตมากที่สุดคือ 20.00 – 22.00น. สวนอินสตาแกรมชวงเวลา 20.00 – 21.00 น. เปนชวงเวลาที่มีคนโพสตมากที่สุด (ที่มา http://positioningmag.com/1092090 สืบคน 30 ก.ค. 60)

ภาพที่ 4.7 แสดงจํานวนผูใชโซเชียลมีเดียในประเทศไทย ที่มา http://positioningmag.com/1092090 สืบคน 30 ก.ค. 60

สังคมผูสูงอายุ ประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) คาดการณวาในป 2560 สัดสวนประชากรผูสูงอายุจะเพิ่มขึ้นสูงถึงรอยละ 20 โดยเปนกลุมที่มีกําลังซื้อสูง เพราะมีรายไดจากเงินบํานาญหรือลูกหลานให สวนใหญใชเวลาในการดูโทรทัศนอยูบานสูงกวาวัย อื่นเฉลี่ยรอยละ 10 โดยชวงเวลาที่ดูทีวีของคนกลุมนี้คือชวงเวลา 17.30 น. – 21.30 น. นอกจากนั้นมี

ผลสํารวจของนีลเส็น พบวา สินคาและบริการ 3 อันดับแรกที่กลุมผูสูงวัยตองการมากที่สุดคือ ประกัน สุขภาพหรือที่ปรึกษาดานสุขภาพรอยละ 58 สินคาที่มีแพ็คขนาดเล็กสําหรับทานคนเดียวรอยละ 48 เมนูตามรานอาหารที่อานงายและมีขอมูลดานโภชนาการรอยละ 47 รานอาหารที่อํานวยความสะดวก เรื่องรถเข็นหรือการเดินของผูสูงอายุรอยละ 57 ฉลากที่บอกถึงขอมูลโภชนาการที่ชัดเจนรอยละ 54 (http://positioningmag.com/1100674 สืบคน 30 ก.ค. 60)

สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรมในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไป ในหลายๆดาน ทั้งในเรื่องพฤติกรรมการรับประทานอาหาร พฤติกรรมการรับขาวสารผานสื่อออนไลน

พฤติกรรมการใช Social Media ที่เพิ่มสูงขึ้น และสัดสวนประชากรที่ผูสูงอายุเริ่มมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้เปนสิ่งที่ผูประกอบการตองทําความเขาใจพฤติกรรม เพื่อจะสามารถตอบสนองความตองการของ ผูบริโภคได ผูประกอบการรานอาหารตองพัฒนาอาหารใหเปนอาหารเพื่อสุขภาพ และตองสามารถให

บริการลูกคาไดอยางรวดเร็ว อํานวยความสะดวกใหกับลูกคา ที่ใชชีวิตเรงรีบ นอกจากนั้นการพัฒนา

อาหารใหตรงกับความตองการของผูสูงอายุก็เปนอีกโอกาสหนึ่งที่จะสามารถสรางรายไดเพิ่มขึ้น ใน สวนของพฤติกรรมการใช Social Media นั้นผูประกอบการก็ตองเขาใจวาผูบริโภคใชสื่อหรือ Social Media ใดเปนประจํา ใชชวงเวลาใด และชอบสื่อประเภทไหน เปนวีดีโอ เนื้อหา หรือเปนภาพที่เห็นแลว สามารถเขาใจไดงายอยาง Infographic หรือเปนภาพการตูนเลาเรื่องราว เพื่อใหผูประกอบการสามารถ ใชสื่อไดอยางมีประสิทธิภาพและเขาถึงเปาหมายไดมากที่สุด