• Tidak ada hasil yang ditemukan

รายได้ในการด าเนินงานต่อปี

สารบัญตาราง

6. รายได้ในการด าเนินงานต่อปี

5.6 รายได้ในการด าเนินงานต่อปี

72 ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีจ านวนทุนในการด าเนินงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้า สมัยใหม่ ได้แก่ ด้านการก าหนดต าแหน่งตราสินค้า ด้านการก าหนดบุคลิกภาพของตราสินค้า ด้านการสร้างเอกลักษณ์ของตราสินค้า และด้านการสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้าไม่แตกต่างกัน (p>0.013) (ตาราง 55 ภาคผนวก ค)

73 ตาราง 24 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่เป็นรายด้าน

ของผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีรายได้ในการด าเนินงาน ต่อปีแตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ การบริหารตรา สินค้าสมัยใหม่

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilks’ Lambda 4 ด้าน 12.000 383.925 3.131* p<0.0001

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 24 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรายได้ในการด าเนินงานต่อปีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

ที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรายได้ในการด าเนินงานต่อปีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้า สมัยใหม่ ด้านการสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้า แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 ส่วนด้านการก าหนดต าแหน่งตราสินค้า ด้านการก าหนดบุคลิกภาพของตราสินค้า และด้านการสร้าง เอกลักษณ์ของตราสินค้าไม่แตกต่างกัน (ตาราง 56 ภาคผนวก ค) จึงได้ท าการเปรียบเทียบ ความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มี

รายได้ในการด าเนินงานต่อปี ต่ ากว่า 10,000,000 และ 10,000,000 – 15,000,000 บาท มีความ คิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่ ด้านการสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้า มากกว่า รายได้ในการด าเนินงานต่อปี มากกว่า 20,000,000 บาท อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ตาราง 57 ภาคผนวก ค)

ไทย

74 ตอนที่ 6 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จทางการตลาดของธุรกิจ

เครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีรูปแบบธุรกิจ สถานที่ตั้งธุรกิจ จ านวนพนักงาน ระยะเวลา

ในการด าเนินงาน จ านวนทุนในการด าเนินงาน และรายได้ในการด าเนินงานต่อปี ดังตาราง 25 - 36 6.1 รูปแบบธุรกิจ

ตาราง 25 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จทางการตลาดโดยรวมของผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีรูปแบบธุรกิจ แตกต่างกัน (ANOVA) ความส าเร็จทาง

การตลาด

แหล่งของ

ความแปรปรวน df SS MS F p-

value โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

3 148 151

0.005 19.778 19.783

0.002 0.134

0.011 0.998

จากตาราง 25 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

ตาราง 26 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดเป็นรายด้าน ของผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ ความส าเร็จทาง การตลาด

Hypothesis df

Error df

F p-

value

Wilks’ Lambda 3 ด้าน 9.000 355.476 2.285* 0.017

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 26 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาด ได้แก่

ด้านความภักดีต่อตราสินค้า ด้านความพึงพอใจของลูกค้า และด้านความเชื่อถือและความไว้วางใจ ไม่แตกต่างกัน (p>0.017) (ตาราง 58 ภาคผนวก ค)

75 6.2 สถานที่ตั้งธุรกิจ

ตาราง 27 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จทางการตลาดโดยรวม ของผู้บริหารฝ่าย การตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน (ANOVA) ความส าเร็จทาง

การตลาด

แหล่งของ

ความแปรปรวน df SS MS F p-

value โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

5 146 151

0.674 19.108 19.783

0.135 0.131

1.030 0.402

จากตาราง 27 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

ตาราง 28 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จทางการตลาดเป็นรายด้านของผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน

(MANOVA)

สถิติทดสอบ ความส าเร็จทาง การตลาด

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilks’ Lambda 3 ด้าน 15.000 397.922 1.421 0.134

จากตาราง 28 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านความภักดีต่อตราสินค้า ด้านความพึงพอใจของลูกค้า และด้านความเชื่อถือและความไว้วางใจ ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

76 6.3 จ านวนพนักงาน

ตาราง 29 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จทางการตลาดโดยรวม ของผู้บริหารฝ่าย การตลาด ธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน (ANOVA) ความส าเร็จทาง

การตลาด

แหล่งของ

ความแปรปรวน df SS MS F p-

value โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

3 148 151

0.562 19.221 19.783

0.187 0.130

1.443 0.233

จากตาราง 29 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน มีความ คิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

ตาราง 30 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จทางการตลาดเป็นรายด้าน ของผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน

(MANOVA)

สถิติทดสอบ ความส าเร็จทาง การตลาด

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilks’ Lambda 3 ด้าน 15.000 397.922 4.449 p<0.0001

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 30 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาดที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาดแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มี

จ านวนพนักงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาด ด้านความภักดี

ต่อตราสินค้า แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.017 ส่วนด้านความพึงพอใจของลูกค้า และด้านความเชื่อถือและความไว้วางใจไม่แตกต่างกัน (ตาราง 59 ภาคผนวก ค)

จึงได้ท าการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่

77 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มี

จ านวนพนักงาน มากกว่า 100 คน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จทางการตลาด ด้านความภักดีต่อตราสินค้า มากกว่า จ านวนพนักงาน น้อยกว่า 50 คน และ 71 – 100 คน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ตาราง 60 ภาคผนวก ค)