• Tidak ada hasil yang ditemukan

สารบัญตาราง

6. รายได้ในการด าเนินงานต่อปี

5.1 รูปแบบธุรกิจ

ตาราง 13 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่โดยรวม ของผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน (ANOVA) การบริหารตราสินค้า

สมัยใหม่

แหล่งของ ความแปรปรวน

df SS MS F p-

value โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

3 148 151

0.561 18.359 18.920

0.187 0.124

1.508 0.215

จากตาราง 13 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วย เกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่โดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

ตาราง 14 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่เป็นรายด้าน

ของผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ การบริหารตรา สินค้าสมัยใหม่

Hypothesis df

Error

df F p-

value

Wilks’ Lambda 4 ด้าน 12.000 383.925 1.297 0.218

จากตาราง 14 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีรูปแบบธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่เป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านการก าหนดต าแหน่งตรา สินค้าด้านการก าหนดบุคลิกภาพของตราสินค้า ด้านการสร้างเอกลักษณ์ของตราสินค้า และด้าน การสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้า ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

67 5.2 สถานที่ตั้งธุรกิจ

ตาราง 15 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่โดยรวม ของผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน (ANOVA)

จากตาราง 15 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่โดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

ตาราง 16 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่เป็นรายด้าน ของผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจ แตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ การบริหารตรา สินค้าสมัยใหม่

Hypothesis df

Error

df F p-

value Wilks’ Lambda 4 ด้าน 20.000 475.227 1.646* 0.039

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 16 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่เป็นรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

ที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีสถานที่ตั้งธุรกิจแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่

ได้แก่ ด้านการก าหนดต าแหน่งตราสินค้า ด้านการก าหนดบุคลิกภาพของตราสินค้า ด้านการสร้าง เอกลักษณ์ของตราสินค้า และด้านการสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้าไม่แตกต่างกัน (p>0.013) (ตาราง 46 ภาคผนวก ค)

การบริหารตราสินค้า สมัยใหม่

แหล่งของ

ความแปรปรวน df SS MS F p-

value โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

5 146 151

0.482 18.438 18.920

0.096 0.126

0.763 0.578

68 5.3 จ านวนพนักงาน

ตาราง 17 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่โดยรวมของผู้บริหาร ฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน (ANOVA)

จากตาราง 17 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่ ไม่แตกต่างกัน (p>0.05) ตาราง 18 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่เป็นรายด้าน

ของผู้บริหารฝ่ายการตลาดธุรกิจเครื่องส าอางในประเทศไทย ที่มีจ านวนพนักงาน แตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ การบริหารตรา สินค้าสมัยใหม่

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilks’ Lambda 4 ด้าน 12.000 383.925 5.333* p<0.0001

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 18 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีจ านวนพนักงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่

ด้านการก าหนดบุคลิกภาพของตราสินค้า และด้านการสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้าแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 ส่วนด้านการก าหนดต าแหน่งตราสินค้า และด้านการสื่อสาร เพื่อการสร้างตราสินค้าไม่แตกต่างกัน (ตาราง 47 ภาคผนวก ค) จึงได้ท าการเปรียบเทียบ

ความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่

การบริหารตราสินค้า สมัยใหม่

แหล่งของ

ความแปรปรวน df SS MS F p-

value โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

3 148 151

0.870 18.051 18.920

0.290 0.122

2.376 0.072

69 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มี

จ านวนพนักงาน มากกว่า 100 คน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่

ด้านการก าหนดบุคลิกภาพของตราสินค้า มากกว่า จ านวนพนักงาน น้อยกว่า 50 คน และ 50 - 70 คน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ตาราง 48 ภาคผนวก ค)

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายการตลาด ที่มีจ านวนพนักงาน น้อยกว่า 50 คน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีการบริหารตราสินค้าสมัยใหม่

ด้านการสื่อสารเพื่อการสร้างตราสินค้า มากกว่า จ านวนพนักงาน 50 – 70 คน อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ตาราง 49 ภาคผนวก ค)