• Tidak ada hasil yang ditemukan

คำบริภาษภาษาไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ ฮาคนเมือง

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "คำบริภาษภาษาไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ ฮาคนเมือง"

Copied!
148
0
0

Teks penuh

(1)

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

นลินี สุวรรณโภค

วิทยำนิพนธ์เสนอมหำวิทยำลัยพะเยำ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำ หลักสูตรปริญญำศิลปศำสตรมหำบัณฑิต

สำขำวิชำภำษำไทย มีนำคม 2565

ลิขสิทธิ์เป็นของมหำวิทยำลัยพะเยำ

(2)

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

นลินี สุวรรณโภค

วิทยำนิพนธ์เสนอมหำวิทยำลัยพะเยำ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำ หลักสูตรปริญญำศิลปศำสตรมหำบัณฑิต

สำขำวิชำภำษำไทย มีนำคม 2565

ลิขสิทธิ์เป็นของมหำวิทยำลัยพะเยำ

(3)

THE INVECTIVES OF NORTHERN THAI DIALECT ON “HA KHON MUEANG” FACEBOOK FANPAGE

NALINEE SUWANNAPOK

A Thesis Submitted to University of Phayao in Partial Fulfillment of the Requirements

for the Master of Arts Degree in Thai March 2022

Copyright 2022 by University of Phayao

(4)

วิทยำนิพนธ์

เรื่อง

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

ของ นลินี สุวรรณโภค

ได้รับพิจำรณำอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำ หลักสูตรปริญญำศิลปศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำภำษำไทย

ของมหำวิทยำลัยพะเยำ

ประธำนกรรมกำรสอบวิทยำนิพนธ์

(ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. สุนทร ค ำยอด)

ประธำนที่ปรึกษำวิทยำนิพนธ์

(ดร. ศรำวุธ หล่อดี)

กรรมกำรที่ปรึกษำวิทยำนิพนธ์

(ดร. วรัญญำ ยิ่งยงศักดิ์)

คณบดีคณะศิลปศำสตร์

(ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. จิตติมำ กำวีระ)

(5)

บทคัดย่อภำษำไทย

เรื่อง: ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

ผู้วิจัย: นลินี สุวรรณโภค, วิทยำนิพนธ์: ศศ.ม. (ภำษำไทย), มหำวิทยำลัยพะเยำ, 2564 อำจำรย์ที่ปรึกษำ: ดร. ศรำวุธ หล่อดี อำจำรย์ที่ปรึกษำร่วม ดร.วรัญญำ ยิ่งยงศักดิ์

ค ำส ำคัญ: ค ำบริภำษ, ภำษำไทยถิ่นเหนือ, เฟซบุ๊ก, แฟนเพจ “ฮำคนเมือง”, กลวิธีกำรสร้ำงค ำ, โลก ทัศน์

บทคัดย่อ

วิทยำนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเครำะห์กลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ และโลกทัศน์

ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” งำนวิจัยเก็บข้อมูลค ำบริภำษภำษำไทย ถิ่นเหนือจำกส่วนแสดงควำมคิดเห็นในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ตั้งแต่เดือนมีนำคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือน ธันวำคม พ.ศ. 2563 พบค ำบริภำษจ ำนวน 303 ค ำ ผลกำรวิจัยมีดังนี้ กำรวิเครำะห์กลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษ ภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”วิเครำะห์จำกควำมสัมพันธ์ทำงควำมหมำยของค ำที่น ำมำ ประกอบเป็นค ำบริภำษ แบ่งเป็น 6 กลวิธีหลัก ได้แก่ 1) ค ำบริภำษที่มี 1 องค์ประกอบ 2) ค ำบริภำษที่มี 2 องค์ประกอบ 3) ค ำบริภำษที่มี 3 องค์ประกอบ 4) ค ำบริภำษที่มี 4 องค์ประกอบ 5) ค ำบริภำษที่มี 5 องค์ประกอบ และ 6) ค ำบริภำษที่มี 6 องค์ประกอบ เมื่อพิจำรณำกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษดังกล่ำวพบว่ำ ค ำบริภำษที่มี 2 องค์ประกอบเป็นกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษที่พบมำกที่สุด ส่วนค ำบริภำษที่มี 6 องค์ประกอบเป็นกลวิธีกำรสร้ำงค ำ บริภำษที่พบน้อยที่สุด กำรวิเครำะห์โลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคน เมือง” มีผลกำรวิจัยสอดคล้องกับแนวคิดสมมติฐำนซำเพียร์-วอร์ฟ เนื่องจำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือสะท้อนให้

เห็นควำมคิด กำรมองโลกหรือโลกทัศน์ของคนภำคเหนือที่มีควำมสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่รอบตัว แบ่งเป็น 2 ด้ำน ได้แก่

1) โลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อ ประกอบด้วยควำมเชื่อเกี่ยวกับผี ศำสนำ ข้อห้ำมและ 2) โลกทัศน์ด้ำนควำมเป็นอยู่

ประกอบด้วยควำมเป็นอยู่เกี่ยวกับชำติก ำเนิด อำชีพ พืช สัตว์ อำหำร สิ่งของเครื่องใช้ โรคภัยไข้เจ็บ เมื่อพิจำรณำ โลกทัศน์ข้ำงต้น พบโลกทัศน์ด้ำนควำมเป็นอยู่มำกที่สุด รองลงมำเป็นโลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อ กำรวิเครำะห์ค ำบริภำษ ภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” นอกจำกเป็นกำรพิสูจน์แนวคิดดังกล่ำว ผลกำรวิจัยยังสำมำรถ ใช้เป็นแนวทำงในกำรศึกษำค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นในสื่อสังคมออนไลน์อื่น ๆ ได้อีกด้วย

(6)

บทคัดย่อภำษำอังกฤษ

Title: THE INVECTIVES OF NORTHERN THAI DIALECT ON “HA KHON MUEANG” FACEBOOK FANPAGE

Author: Nalinee Suwannapok, Thesis: M.A. (Thai), University of Phayao, 2021 Advisor: Dr. Sarawut Lordee Co-advisor Dr.Warunya Yingyongsak

Keywords: invectives, Northern Thai dialect, Facebook, “Ha Khon Mueang” fanpage, word formation strategy, worldview

ABSTRACT

The objectives of this thesis are to analyze word formation strategies of the Northern Thai dialect invectives and to analyze the worldview reflected from the invectives of Northern Thai dialects on “Ha Khon Mueang” Facebook fanpage. The research collected data on the Northern Thai dialect invectives in the comment section on Facebook fanpage “Ha Khon Mueang” from March 2012 to December 2020. A total of 303 invectives were found. The results of the research are as follows: The word formation strategy analysis of the Northern Thai dialect invectives on “Ha Khon Mueang” Facebook fanpage was analyzed from the semantic relationship of words used to form the invectives. The word formation strategy can be classified into 6 main types: 1) the invective word formed by 1-word part 2) the invective word formed by 2-word parts 3) the invective word formed by 3-word parts 4) the invective word formed by 4-word parts 5) the invective word formed by 5-word parts, and 6) the invective word formed by 6-word parts. The result showed that the invective word formed by 2-word parts was the most common word formation found and the invective word formed by 6-word parts was the least common word formation found. The worldviews reflected from the invectives were analyzed according to the Sapir-Whorf hypothesis. The result revealed that the Northern Thai dialect invectives reflected the ideas and the worldviews of Northern people in relation to what surrounded by 2 aspects: 1) the worldviews towards belief about ghost, religion, prohibition and 2) the worldviews towards living based on birth, occupation, plant, animal, food, utensil, and disease. It also showed that the worldview towards living was the most common worldview found, followed by the worldviews towards belief, respectively. The analysis of word formation of the invectives of Northern Thai dialects on “Ha Khon Mueang”

Facebook fanpage would be not only the proof of the adopted hypothesis, but the results could also be used as a guideline for studying Thai dialect invectives on other social media platforms.

(7)

กิตติกรร มประกำศ

กิตติกรรมประกำศ

วิทยำนิพนธ์ฉบับนี้ได้รับทุนอุดหนุนกำรท ำวิทยำนิพนธ์จำกมหำวิทยำลัยพะเยำจนส ำเร็จ ลุล่วงด้วยดี ขอขอบพระคุณ ดร.ศรำวุธ หล่อดี ประธำนที่ปรึกษำวิทยำนิพนธ์ และดร.วรัญญำ ยิ่งยงศักดิ์ กรรมกำรที่ปรึกษำวิทยำนิพนธ์ ที่กรุณำคอยชี้แนะ สั่งสอน ตรวจ แก้ไขข้อบกพร่อง ของวิทยำนิพนธ์ด้วยควำมอดทน เมตตำ และเอำใจใส่อย่ำงดียิ่ง ขอบพระคุณรองศำสตรำจำรย์

ดร.เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ ที่กรุณำเป็นกรรมกำรพิจำรณำโครงร่ำงวิทยำนิพนธ์ และผู้ช่วย ศำสตรำจำรย์ ดร.สุนทร ค ำยอด ที่กรุณำเป็นประธำนกรรมกำรสอบวิทยำนิพนธ์ ที่ได้ให้

ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์เพื่อให้วิทยำนิพนธ์มีควำมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ขอขอบพระคุณคณำจำรย์ สำขำวิชำภำษำไทย คณะศิลปศำสตร์ มหำวิทยำลัยพะเยำ ทุกท่ำน ที่ได้ประสิทธิ์ประสำทวิชำให้ผู้วิจัยได้เพิ่มพูนสรรพวิชำควำมรู้

ขอขอบพระคุณพ่อ แม่ และสมำชิกในครอบครัว ผู้คอยเป็นแรงผลักดันสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้วิจัยได้รับกำรศึกษำ และเป็นก ำลังใจให้ผู้วิจัยอย่ำงสม่ ำเสมอทั้งในเรื่องกำรเรียนและ กำรใช้ชีวิต

คุณค่ำและประโยชน์ของวิทยำนิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอน้อมเป็นเครื่องสักกำระแด่พระคุณ ของบุพกำรี ครูอำจำรย์ และผู้มีพระคุณทุกท่ำน

นลินี สุวรรณโภค

(8)

สำรบัญ

หน้ำ บทคัดย่อภำษำไทย ... ง บทคัดย่อภำษำอังกฤษ ... จ กิตติกรรมประกำศ ... ฉ สำรบัญ ... ช สำรบัญตำรำง ... ฌ สำรบัญภำพ ... ญ

บทที่ 1 บทน ำ ... 1

ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ ... 1

วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ... 4

ขอบเขตของกำรวิจัย ... 4

ข้อตกลงเบื้องต้น ... 4

นิยำมศัพท์เฉพำะ ... 5

ประโยชน์ที่จะได้รับจำกกำรวิจัย ... 6

บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 7

แนวคิดที่เกี่ยวข้อง ... 7

เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 14

บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำรวิจัย ... 31

แหล่งข้อมูลที่ใช้ในกำรวิจัย ... 31

กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ... 36

กำรวิเครำะห์ข้อมูล ... 37

กำรเสนอผลกำรวิจัย ... 38

(9)

บทที่ 4 ผลกำรวิจัย ... 39

กลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ“ฮำคนเมือง” ... 39

โลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ... 99

บทที่ 5 บทสรุป ... 117

สรุปผลกำรวิจัย ... 117

อภิปรำยผลกำรวิจัย ... 127

ข้อเสนอแนะ... 130

บรรณำนุกรม ... 131

ประวัติผู้วิจัย ... 137

(10)

สำรบัญตำรำง

ตำรำง หน้ำ

1 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของค ำบริภำษที่มี 1 องค์ประกอบ ... 43

2 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของค ำบริภำษที่มี 2 องค์ประกอบ ... 59

3 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของค ำบริภำษที่มี 3 องค์ประกอบ ... 80

4 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของค ำบริภำษที่มี 4 องค์ประกอบ ... 92

5 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของค ำบริภำษที่มี 5 องค์ประกอบ ... 97

6 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ... 98

7 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของโลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อ ... 104

8 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของโลกทัศน์ด้ำนควำมเป็นอยู่ ... 115

9 แสดงจ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของโลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษ ภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ... 116

(11)

สำรบัญภำพ

ภำพ หน้ำ

1 แสดงม้ำแห่ลูกแก้ว ... 102

2 แสดงบ่ำคอแลน ... 107

3 แสดงอำหำรท้องถิ่นภำคเหนือ ... 110

4 แสดงสะตวง ... 112

5 แสดงโบม ... 113

(12)

บทที่ 1 บทน ำ

ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

ปัจจุบันเป็นยุคแห่งกำรสื่อสำรไร้พรมแดน โดยมีอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ำยที่มีบทบำท และมีควำมส ำคัญต่อชีวิตประจ ำวันของมนุษย์มำกขึ้น ในประเทศไทยมีจ ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพิ่มสูงขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ท ำให้เกิดกำรรวมกลุ่มของผู้สนใจในเรื่องเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่ำวสำร เกิดเป็นสังคมออนไลน์ขึ้นบนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีคุณลักษณะเด่น คือ กำรมีปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงเว็บไซต์กับผู้ใช้ และระหว่ำงผู้ใช้กับผู้ใช้ด้วยกันเองในหน้ำเว็บเพจ (Webpage) หรือบล็อก (Blog) ของตนเอง และมีผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นผู้เปิดรับเนื้อหำนั้น ๆ จนเกิดเป็น เว็บไซต์แบบเครือข่ำยสังคมออนไลน์ขึ้นมำ ซึ่งเว็บไซต์ที่ให้บริกำรเครือข่ำยออนไลน์เป็นที่สนใจ ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก (วิมลพรรณ อำภำเวท สำวิตรี ชีวะสำธน์ และชำญ เดชอัศวนง, 2554, หน้ำ 1)

กำรสื่อสำรในสื่อสังคมออนไลน์มีอิทธิพลมำกต่อคนในสังคม โดยเฉพำะเฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นสื่อออนไลน์ที่ได้รับควำมนิยมในโลกยุคไซเบอร์ ด้วยเทคโนโลยีกำรสื่อสำร ที่สำมำรถสร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกัน ท ำให้กำรสื่อสำรง่ำยและรวดเร็วมำกขึ้น โดยไม่ใช่

รู้จักกันในกลุ่มเล็ก ๆ เท่ำนั้น หำกยังเกิดกำรสื่อสำรครอบคลุมทั่วโลก โดยสมำชิกมักจะใช้

เพื่อติดต่อสื่อสำรกับเพื่อน น ำเข้ำข้อมูลข่ำวสำรควำมเคลื่อนไหวในสถำนกำรณ์ที่อยู่ในควำมสนใจ และอยู่ในกระแสของสังคมออนไลน์ (ภิรมย์ พำบุ และมงคล ดีอุดม, 2556, หน้ำ 69-70) ท ำให้

กำรสื่อสำรผ่ำนเทคโนโลยีกลำยเป็นกิจวัตร มีกำรพึ่งกำรสื่อสำรแบบไม่เห็นหน้ำกันอยู่เสมอ อีกทั้งมีเครื่องมือและเทคโนโลยีที่หลำกหลำยเพื่ออ ำนวยควำมสะดวก มนุษย์จึงหันมำใช้

กำรสื่อสำรผ่ำนเทคโนโลยีต่ำง ๆ มำกขึ้น (อัจฉรำ จุ้ยเจริญ, 2561, สื่อออนไลน์)

ภำษำที่ใช้ในชีวิตประจ ำวันของเรำมีอยู่หลำกหลำยรูปแบบ เนื่องจำกมนุษย์มีภำษำ เป็นเครื่องมือในกำรติดต่อสื่อสำร สื่อควำมรู้สึก อำรมณ์ ควำมคิด จินตนำกำร ท ำให้สำมำรถ ก ำหนดหรือรู้ควำมประสงค์ของกันและกันได้ ทั้งนี้ค ำบริภำษถือว่ำเป็นภำษำรูปแบบหนึ่ง ที่สำมำรถแสดงให้เห็นควำมรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ได้ กล่ำวคือ บริภำษ มำจำกรำกศัพท์ภำษำ สันสกฤตว่ำ ปริภำษ พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2554 (รำชบัณฑิตยสถำน, 2556, หน้ำ 654) ให้ควำมหมำยว่ำ “บริภำษ [บอริพำด] ก. กล่ำวติเตียน, กล่ำวโทษ, ด่ำว่ำ”

ซึ่งเป็นถ้อยค ำที่ผู้กล่ำวมุ่งหวังให้ผู้ที่ถูกว่ำกล่ำวประสบควำมอับโชค เครำะห์ร้ำย หรือเพื่อ

(13)

2 ก่อให้เกิดควำมเจ็บแค้น ค ำบริภำษที่น ำมำใช้ในแต่ละสังคมอำจมีลักษณะที่เป็นไปตำม สภำพแวดล้อม บริบทสังคม วิถีชีวิต หรือระบบควำมคิดของผู้ที่อยู่ในสังคมนั้น

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สังคมไทยเป็นสังคมแห่งรอยยิ้ม เป็นสังคมแห่งกำรให้ ทุกคน ในสังคมเติบโตมำกับกำรอบรมสั่งสอนให้มีมำรยำท พูดจำอ่อนหวำน อ่อนน้อมถ่อมตน แต่ใน บำงสถำนกำรณ์เมื่อบุคคลรู้สึกไม่พอใจ โกรธ หรือเกลียด มักจะมีกำรแสดงออกหลำยรูปแบบ เช่น กำรแสดงออกทำงสำยตำ สีหน้ำ ท่ำทำง รวมทั้งกำรเอ่ยวำจำด้วยค ำพูดที่รุนแรง หยำบคำย หรือกำรใช้ถ้อยค ำบริภำษ (ค ำด่ำ) เนื่องจำกสังคมออนไลน์เป็นสื่อที่ให้อิสระในกำรแสดง ควำมคิดเห็น ระบบควบคุมยังมีข้อจ ำกัดเฉพำะ และไม่มีกำรประมวลสภำพรูปแบบกำรสื่อสำร ที่ไม่สร้ำงสรรค์ ท ำให้ปรำกฏข้อควำมหรือกำรใช้ค ำที่ไม่เหมำะสมในสื่อสังคมออนไลน์

เป็นจ ำนวนมำก โดยเฉพำะกำรใช้ค ำบริภำษในเฟซบุ๊กที่เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่ได้รับควำมนิยม ในประเทศไทย (วีรพงษ์ พวงเล็ก, 2561, หน้ำ 19)

เฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” (ฮำคนเมือง, 2563, สื่อออนไลน์) เป็นเฟซบุ๊กแฟนเพจ ที่มีบุคคลเข้ำมำสื่อสำรแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น วิพำกษ์วิจำรณ์เรื่องต่ำง ๆ และปรำกฏกำรใช้

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือหลำยค ำ ที่แสดงอำรมณ์ควำมรู้สึกของผู้บริภำษเป็นลำยลักษณ์อักษร กำรบริภำษในสื่อดังกล่ำว เป็นกำรบริภำษแบบไม่เห็นหน้ำกัน จึงสำมำรถพิมพ์แสดงควำมคิดเห็น อย่ำงอิสระ ค ำบริภำษที่พบในเฟซบุ๊กแฟนเพจฮำคนเมือง มีกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษหรือวิธีกำร น ำค ำตำมกลุ่มควำมหมำยมำสร้ำงเป็นถ้อยค ำเพื่อใช้ด่ำผู้อื่นหลำยรูปแบบ ดังตัวอย่ำง ควายสะตวง มีวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษโดยน ำสัตว์ ควาย ประกอบกับสิ่งของเครื่องใช้ สะตวง (กระบะกำบกล้วยส ำหรับใส่เครื่องเซ่น) บ่าปันต๋าย มีวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษโดยน ำค ำบอกเพศ บ่า (ค ำเรียกเพศชำย ไอ้) ประกอบกับค ำบอกเวลำ ปัน (พลัน หมำยถึง รีบ ด่วน) และควำมเชื่อ ต๋าย (ตำย) เป็นต้น

กำรกล่ำวค ำบริภำษที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อจิตใจในสื่อสังคมออนไลน์ พบค ำบริภำษ ที่มีควำมหมำยตรงหรือควำมหมำยประจ ำรูป ซึ่งเป็นควำมหมำยหลักของค ำนั้น เช่น ค ำว่ำ ร่ำน จัญไร ฯลฯ และค ำบริภำษที่มีควำมหมำยอุปลักษณ์ เป็นค ำที่เปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีก สิ่งหนึ่ง เพื่อให้เห็นภำพ เช่น ค ำว่ำ หน้ำส้นตีน แรด สัตว์นรก ฯลฯ ค ำบริภำษที่เปรียบเทียบ คนที่ถูกด่ำกับสิ่งต่ำง ๆ มักจะมีลักษณะบำงสิ่งบำงอย่ำงที่คล้ำยกันหรือมีลักษณะบำงอย่ำงร่วมกัน ดังที่ จอร์จ เลคอฟ และมำร์ค จอห์นสัน (Lakoff and Johnson, 1980 อ้ำงอิงใน กรกนก รัมมะอัตถ์, 2556, หน้ำ 7-8) กล่ำวว่ำ กำรใช้ภำษำในชีวิตประจ ำวันของเรำอยู่ในรูปแบบของกำรเปรียบเทียบ เป็นอุปลักษณ์ ที่ไม่ใช่เพียงเรื่องของภำษำและกำรใช้ภำษำเท่ำนั้น แต่ยังเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ระบบควำมคิดหรือระบบมโนทัศน์ของคนในสังคม รวมทั้งอำรมณ์ ควำมรู้สึก และสำมำรถ

(14)

3 อธิบำยได้อย่ำงมีระบบและมีเหตุผล โดยกำรเชื่อมโยงควำมคิดจำกกำรใช้ค ำที่มีควำมหมำย ถ่ำยโยงจำกควำมหมำยหนึ่งไปอีกควำมหมำยหนึ่งซึ่งเป็นไปอย่ำงอิสระโดยที่เรำไม่รู้ตัว และเป็นกำรเกิดขึ้นอย่ำงเป็นธรรมชำติ สอดคล้องกับที่เบนจำมิน ลี วอร์ฟ (Whorf, 1897-1941 อ้ำงอิงใน วิภำกร วงศ์ไทย, 2540, หน้ำ 89) ได้กล่ำวถึงเรื่องภำษำกับระบบควำมคิดว่ำ ภำษำ เป็นตัวก ำหนดหรือมีอิทธิพลต่อควำมคิดและกำรมองโลกของคน โดยให้ควำมคิดเห็นเกี่ยวกับ ภำษำว่ำ อิทธิพลของภำษำไม่ได้เป็นเพียงเครื่องชี้น ำควำมคิดเท่ำนั้น แต่ยังเป็นตัวก ำหนดควำมคิด ของคนเรำด้วย นอกจำกนี้ พชร สุวรรณภำชน์ (2544) ได้กล่ำวว่ำ กำรท ำควำมเข้ำใจบุคคล หรือสังคมใดสังคมหนึ่งได้นั้น ต้องเริ่มจำกกำรศึกษำโลกทัศน์ของคนกลุ่มนั้น ๆ ก่อน เนื่องจำก โลกทัศน์เป็นวัฒนธรรมทำงควำมคิด และจิตใจของมนุษย์ เป็นควำมคิดเห็นที่มนุษย์มีต่อโลก หรือสังคมที่เขำอำศัยอยู่ ซึ่งอำจแสดงออกด้วยค ำพูดหรือพฤติกรรมต่ำง ๆ ดังนั้นโลกทัศน์

จึงเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม สะท้อนควำมคิดของผู้ที่อำศัยอยู่ในสังคม รวมทั้งสะท้อนวัฒนธรรมที่มีกำรสืบทอดต่อกันมำ เช่น ควำมเชื่อ ค่ำนิยม วิถีชีวิต

จำกกำรศึกษำเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับค ำบริภำษ พบประเด็นที่ศึกษำเกี่ยวกับ กำรใช้ถ้อยค ำบริภำษ บทบริภำษ รูปแบบค ำบริภำษ ลักษณะถ้อยค ำส ำนวนในบทบริภำษ ควำมหมำยของค ำบริภำษ วัจนกรรมบริภำษ สำเหตุกำรบริภำษ กลวิธีกำรบริภำษ ค่ำนิยมและ โลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษ และกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษด้ำนรูปแบบและโครงสร้ำงทำง ไวยำกรณ์ (วีระศักดิ์ บุญญำพิทักษ์, 2536; ศรศักดิ์ ไชยมงคล, 2540; สมบูรณ์ ศรีระสันต์, 2542;

พนมพร นิรัญทวี, 2544; วิสันต์ สุขวิสิทธิ์, 2547; วิไล ธรรมวำจำ, 2549; รัญชนีย์ ศรีสมำน, 2552; อรรถวิทย์ รอดเจริญ, 2552; ศุภชัย ต๊ะวิชัย, 2556; ศิวริน แสงอำวุธ, 2557; อรทัย ชินอัครพงศ์, 2557; สมบัติ สมศรีพลอย, 2559; ทิพวัลย์ เหมรำ, 2560, 2562) กำรศึกษำดังกล่ำว เป็นกำรศึกษำค ำบริภำษในภำษำไทยถิ่นกลำง ภำษำไทยถิ่นอีสำน และภำษำไทยถิ่นใต้ ข้อมูล ที่ใช้ศึกษำ เป็นข้อมูลที่ได้จำกกำรสัมภำษณ์และแบบสอบถำมผู้ใช้ภำษำ จุลสำร นวนิยำย บทละครนอก บทสนทนำในชีวิตจริง พจนำนุกรม เพลงพื้นบ้ำน ละครโทรทัศน์ วรรณคดี

และสื่อออนไลน์

กำรศึกษำค ำบริภำษข้ำงต้น เป็นสิ่งที่ท ำให้เห็นลักษณะทำงภำษำและวัฒนธรรม ของกลุ่มคนในภูมิภำคต่ำง ๆ ของประเทศไทย ผู้วิจัยเห็นว่ำ ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ ที่ปรำกฏในสื่อออนไลน์ เป็นข้อมูลที่น่ำสนใจและสำมำรถใช้เป็นตัวแทนข้อมูลเพื่อศึกษำลักษณะ ของภำษำและวัฒนธรรมได้เช่นเดียวกับกำรศึกษำค ำบริภำษในภำษำไทยถิ่นกลำง ภำษำไทย ถิ่นอีสำน และภำษำไทยถิ่นใต้ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงรวบรวมข้อมูลและวิเครำะห์ค ำบริภำษ ภำษำไทยถิ่นเหนือ ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” เนื่องจำกเป็นเฟซบุ๊กแฟนเพจที่มีคน

(15)

4 กดถูกใจและกดติดตำม แสดงให้เห็นถึงกำรมีบทบำทส ำคัญต่อบุคคลที่พบเห็นเพจนั้น นอกจำกนี้เฟซบุ๊กแฟนเพจดังกล่ำวมีคนที่สื่อสำรเป็นคนภำคเหนือและมีกำรเคลื่อนไหวตลอดเวลำ รวมถึงมีกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลที่หลำกหลำยและเป็นกันเอง จึงเป็นแหล่งข้อมูลที่น่ำสนใจ ในกำรศึกษำด้ำนกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษเพื่อให้เห็นลักษณะกำรน ำค ำตำมกลุ่มควำมหมำย มำประกอบเป็นค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ รวมทั้งโลกทัศน์ที่สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม ด้ำนต่ำง ๆ จำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในสื่อดังกล่ำว

วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย

1. วิเครำะห์กลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

2. วิเครำะห์โลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ

“ฮำคนเมือง”

ขอบเขตของกำรวิจัย

ขอบเขตด้ำนข้อมูลที่ใช้ในกำรวิจัยเรื่อง ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊ก แฟนเพจ “ฮำคนเมือง” เป็นข้อมูลค ำบริภำษที่ปรำกฏในส่วนแสดงควำมคิดเห็นในเฟซบุ๊ก แฟนเพจ “ฮำคนเมือง” (ฮำคนเมือง, 2563, สื่อออนไลน์) ตั้งแต่เดือนมีนำคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนธันวำคม พ.ศ. 2563 พบค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ จ ำนวน 303 ค ำ (ดูบทที่ 3 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในกำรวิจัย)

ข้อตกลงเบื้องต้น

ผู้วิจัยก ำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในกำรวิจัยเรื่อง ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ดังนี้

1. ค ำบริภำษที่ปรำกฏในส่วนแสดงควำมคิดเห็นในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

ถือว่ำเป็นค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือทั้งสิ้น

2. กำรสะกดค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือที่ปรำกฏในส่วนแสดงควำมคิดเห็นในเฟซบุ๊ก แฟนเพจ “ฮำคนเมือง” มีควำมแตกต่ำงกัน เพื่อกำรรักษำรูปค ำศัพท์ที่ใช้จริงผ่ำนเฟซบุ๊กแฟนเพจ

“ฮำคนเมือง” และเพื่อให้กำรสะกดค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือที่ใช้ในกำรวิจัยเป็นระบบเดียวกัน ผู้วิจัยจะสะกดค ำบริภำษเลียนเสียงให้ใกล้เคียงกับกำรออกเสียงของคนภำคเหนือให้มำกที่สุด

3. กำรวิเครำะห์ควำมหมำยของค ำที่น ำมำประกอบเป็นค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ จะอธิบำยควำมหมำยของค ำที่ใช้เฉพำะในภำษำไทยถิ่นเหนือไว้ในเครื่องหมำยวงเล็บหลังค ำ

(16)

5 บริภำษหรืออธิบำยต่อจำกค ำบริภำษ โดยยึดควำมหมำยของค ำดังกล่ำวตำมที่ปรำกฏใน พจนำนุกรมล้ำนนำ-ไทย ฉบับแม่ฟ้ำหลวง ของอุดม รุ่งเรืองศรี (2547) และเอกสำร ทำงวิชำกำรต่ำง ๆ ตำมล ำดับ โดยผู้วิจัยจะเลือกควำมหมำยที่สอดคล้องกับค ำบริภำษ ภำษำไทยถิ่นเหนือ เช่น

คนวอก (วอก หมำยถึง โกหก ตลบตะแลง (อุดม รุ่งเรืองศรี, 2547, หน้ำ 672)) จ้ำดวอก (จ้ำด (ชำติ) หมำยถึง เผ่ำพันธุ์ (อุดม รุ่งเรืองศรี, 2547, หน้ำ 216), วอก หมำยถึง ลิง (อุดม รุ่งเรืองศรี, 2547, หน้ำ 672))

4. สัญลักษณ์ที่ใช้อธิบำยกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊ก แฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ได้แก่

= หมำยถึง มีวิธีกำรสร้ำงจำก + หมำยถึง ประกอบกับ

xn หมำยถึง x เป็นค ำหรือกลุ่มควำมหมำยของค ำ และ n เป็นล ำดับที่ของ x ตัวอย่ำงกำรอธิบำยกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ เช่น

ควำยสะตวง = ควำย1 + สะตวง2 (กระบะกำบกล้วยส ำหรับใส่เครื่องเซ่น (อุดม รุ่งเรืองศรี, 2547, หน้ำ 701))

กลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษ: สัตว์1 + สิ่งของเครื่องใช้2 นิยำมศัพท์เฉพำะ

ค ำบริภำษ หมำยถึง ค ำแสดงกำรดูหมิ่น เหยียดหยำม ด่ำว่ำ ติเตียน กล่ำวโทษ เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกเจ็บปวด สะเทือนอำรมณ์ เสียหน้ำ เสื่อมเสียชื่อเสียง หรือค ำที่มีควำมหมำยส่อ ไปในทำงลบ ทั้งนี้ค ำบริภำษอำจเป็นค ำหยำบหรือไม่ก็ได้ และประกอบด้วยค ำตั้งแต่ 1 ค ำขึ้นไป ที่ปรำกฏในส่วนแสดงควำมคิดเห็นในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” เช่น ง่ำว โบมผี บ่ำหน้ำ หนังว้อง

ภำษำไทยถิ่นเหนือ หมำยถึง ภำษำที่ใช้สื่อสำรกันในภำคเหนือของประเทศไทย ซึ่งปรำกฏอยู่ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

เฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” หมำยถึง พื้นที่บนเครือข่ำยสังคมออนไลน์

ที่มีผู้สร้ำงขึ้นมำเพื่อแสดงออกทำงควำมคิด กำรแลกเปลี่ยนมุมมอง รวมถึงข้อมูลข่ำวสำร ในด้ำนต่ำง ๆ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงค่ำนิยม อำรมณ์ ควำมรู้สึก โดยใช้ภำษำไทยถิ่นเหนือ ในกำรสื่อสำร ผู้ใช้งำนเฟซบุ๊กคนอื่น ๆ สำมำรถมองเห็นข้อควำมในเพจ ร่วมติดต่อสื่อสำร ติดตำมข้อมูล และพิมพ์แสดงควำมคิดเห็นได้

(17)

6 กลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษ หมำยถึง กำรน ำค ำมำประกอบเข้ำด้วยกันตำมกลุ่ม ควำมสัมพันธ์ทำงควำมหมำยของค ำเพื่อสร้ำงเป็นค ำที่ใช้ในกำรบริภำษ เช่น โบมผี เป็นค ำ บริภำษที่มี 2 องค์ประกอบ คือ สิ่งของเครื่องใช้ (โบม หมำยถึง โลงศพ) ประกอบกับควำมเชื่อ (ผี)

โลกทัศน์ หมำยถึง กำรตีควำมสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวของมนุษย์ในสังคม เพื่อให้เห็น ควำมคิดของมนุษย์ที่มีต่อโลกหรือสังคม รวมถึงกำรที่มนุษย์มองตัวเองว่ำสัมพันธ์กับสรรพสิ่ง รอบตัวอย่ำงไร ทั้งนี้กำรตีควำมสิ่งดังกล่ำวพิจำรณำได้จำกภำษำที่มนุษย์ใช้ในสังคม เนื่องจำก ภำษำสำมำรถสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมด้ำนต่ำง ๆ ของมนุษย์แต่ละสังคมได้ กำรศึกษำโลกทัศน์

ในกำรวิจัยนี้เป็นกำรศึกษำโลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊ก แฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ในช่วง พ.ศ. 2555-2563

ประโยชน์ที่จะได้รับจำกกำรวิจัย

1. ทรำบกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

2. ทรำบโลกทัศน์ที่สะท้อนจำกค ำบริภำษภำษำถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง”

3. เป็นแนวทำงในกำรวิเครำะห์ค ำบริภำษหรือภำษำในสื่อสังคมออนไลน์อื่น ๆ

(18)

บทที่ 2

เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรวิจัยเรื่อง ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊ก แฟนเพจ “ฮำคนเมือง” ผู้วิจัยแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่สองเป็น เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1. แนวคิดที่เกี่ยวข้อง

1.1 แนวคิดกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษ 1.2 แนวคิดสมมติฐำนซำเพียร์-วอร์ฟ 2. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำค ำบริภำษ

2.2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำโลกทัศน์ในภำษำไทยถิ่น 2.3 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำภำษำในสื่อออนไลน์

แนวคิดที่เกี่ยวข้อง

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับกำรวิจัยเรื่อง ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ

“ฮำคนเมือง” ประกอบด้วย แนวคิดกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษ และแนวคิดสมมติฐำนซำเพียร์- วอร์ฟ มีรำยละเอียดดังนี้

1. แนวคิดกลวิธีกำรสร้ำงค ำบริภำษ

อรทัย ชินอัครพงศ์ (2557, หน้ำ 55-89) จ ำแนกควำมหมำยของค ำบริภำษ ตำมหลักไวยำกรณ์เป็น 2 ชนิด ได้แก่ ควำมหมำยตรงหรือควำมหมำยประจ ำรูป และควำมหมำย อุปลักษณ์ ดังนี้

1.1 ควำมหมำยตรงหรือควำมหมำยประจ ำรูปของค ำบริภำษ สำมำรถน ำมำจัดกลุ่ม ประเภทควำมหมำยได้ 6 กลุ่ม ได้แก่

1.1.1 ลักษณะนิสัยหรือควำมประพฤติ คือ กระท ำตัวไม่ดีหรือนิสัยไม่ดี เช่น กักขฬะ ชั่ว ดัดจริต ต่ ำ ทรำม ระย ำ กระท ำในสิ่งที่ไม่ใช่เรื่องของตนเอง เช่น กระแดะ ทะลึ่ง ไม่เจียมตัว สอดรู้สอดเห็น สำระแน เสือก แสดงออกหรืออยำกในเรื่องเพศหรือเรื่องอื่นอย่ำงมำก เช่น กระสัน เงี่ยน บ้ำผู้ชำย ร่ำน ส ำส่อน หื่น ไม่ให้ของตนเอง/ตระหนี่/เอำของคนอื่น เช่น ขี้เหนียว ขี้ตืด ขี้โกง งก ไม่สะอำดหรือสกปรก เช่น ซกมก สกปรก โสโครก พูดไม่จริงหรือไม่ตรงกับ

(19)

8 ที่พูดไว้ เช่น ตอแหล สอพลอ ไม่รู้คิด ไม่ไตร่ตรอง เช่น ซี้ซั้ว ไร้สติ ท ำงำนช้ำ อืดอำด เช่น แฉะแบะ แฉะมะแหล่ะ ไม่รู้บุญคุณ เช่น เนรคุณ อกตัญญู ควำมไม่สำมำรถ เช่น หำผัวไม่ได้

1.1.2 รูปลักษณ์ คือ อวัยวะที่ผิดส่วนหรือผิดรูป เช่น ค่อม ดั้งหัก หน้ำหัก เหยิน ควำมไม่ทันสมัย เช่น แก่ เฉิ่ม เชย เปิ่น สัดส่วนไม่ดี เช่น เตี้ย บักโกรก อ้วน ควำมพิกำร เช่น บอด ใบ้ เป๋ ควำมขี้เหร่ เช่น ขี้เหร่ ขี้ริ้ว ผิวพรรณไม่ดี เช่น ด ำ เหี่ยว เพศที่ผิดเพี้ยน เช่น กะเทย ตุ๊ด โรคร้ำย เช่น ขี้เรื้อน

1.1.3 ชำติก ำเนิด คือ ชำติก ำเนิดที่ต่ ำต้อยหรือไม่ดีของบุคคลที่ถูกด่ำพ่อแม่

หรือตระกูลของพ่อแม่ ลักษณะลบของพ่อแม่ และอำชีพของพ่อแม่ที่สังคมดูถูก เช่น ขี้ครอก โคตรพ่อโคตรแม่ โคตรเหง้ำศักรำช ชำติชั่ว พ่อมึง แม่มึง ลูกกะหรี่ เสียชำติเกิด

1.1.4 สติปัญญำ คือ ควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ เช่น โง่ โง่ดักดำน งี่เง่ำ ซื่อบื้อ เซ่อ เซ่อซ่ำ ปัญญำอ่อน

1.1.5 อำชีพ คือ อำชีพที่สังคมตีค่ำว่ำต้อยต่ ำ ไม่ถูกกฎหมำย และขัดต่อศีลธรรม เช่น กะหรี่ ขอทำน ขี้ข้ำ โสเภณี หัวขโมย

1.1.6 สภำพจิต คือ จิตที่ไม่ดีหรือผิดปกติ เช่น จิตทรำม ติงต๊อง บ้ำ วิปริต 1.2 ควำมหมำยอุปลักษณ์ของค ำบริภำษ ปรำกฏประเภททำงควำมหมำยที่ใช้เป็น แบบเปรียบ 13 กลุ่ม ได้แก่

1.2.1 สัตว์ คือ ควำมเป็นสัตว์ประเภทนั้นในภำพรวม เช่น กระซู่ ควำย แรด หมำ เหี้ย งูเห่ำ ชะนี ปลวก ขนำดของสัตว์ เช่น กะเทยควำย คิงคอง ช้ำงน้ ำ พะยูน อึ่งอ่ำง รูปลักษณ์ของสัตว์ เช่น คำงคก หอยหลอด หอยแครงลวก หมำขี้เรื้อน หน้ำปลำดุก นิสัยและ พฤติกรรมของสัตว์ เช่น ใจหมำ จิ้งจอกสังคม ปำกปีจอ เสือผู้หญิง ชำติหมำ จองหองพองขน อวัยวะของสัตว์ เช่น ปัญญำแค่หำงอึ่ง สมองกุ้ง สมองหมำปัญญำควำย ด ำตับเป็ด เฒ่ำหัวงู

อำยุของสัตว์ เช่น ไดโนเสำร์ เต่ำล้ำนปี เพศสภำพของสัตว์ เช่น หน้ำตัวเมีย กิริยำอำกำร และพฤติกรรมของสัตว์ที่มำจำกส ำนวนไทย เช่น หมำเห่ำใบตองแห้ง ชิงหมำเกิด กิ้งก่ำได้ทอง นกสองหัว ปำกหอยปำกปู

1.2.2 อวัยวะในร่ำงกำย คือ อวัยวะเบื้องต่ ำ เช่น ส้นตีน หน้ำส้นตีน รูทวำร อวัยวะเพศ เช่น ควย จิ๋มจรวด จิ๋มเหล็ก หน้ำปิ๊ อวัยวะที่ไม่สมประกอบ มีน้อย มีเกิน ไม่มีเลย หรืออวัยวะที่ท ำหน้ำที่ผิดปกติ เช่น เขี้ยวลำกดิน นมครึ่งเต้ำ ปอดแหก ลิ้นสองแฉก

1.2.3 สิ่งของ เครื่องใช้ หรือวัสดุ คือ หน้ำที่หรือกำรใช้งำนของสิ่งของ เช่น ฆ้องปำกแตก ไม่เต็มบำท สิบแปดมงกุฎ หน้ำหม้อ ขนำดของสิ่งของ เช่น ตุ่มสำมโคก หน้ำใหญ่

(20)

9 หน้ำใหญ่ใจโต หมำกระเป๋ำ รูปลักษณ์ของสิ่งของ เช่น หน้ำด้ำน หน้ำหนำ ปัญญำนิ่ม สมองทึบ สมองกลวง

1.2.4 สิ่งปฏิกูล มูลฝอย หรือสิ่งไร้ประโยชน์ คือ สิ่งปฏิกูล เช่น ขยะ ขี้ขยะ สังคม ติดฟัน ปำกเสีย ของเหลือไร้ประโยชน์ เช่น กำก เดน เศษเดน พืชที่คนคิดว่ำไร้ประโยชน์

หรือมีควำมหมำยไม่ดี เช่น สวะ ตะไคร่น้ ำ เสนียด ขี้ครอก มูลสัตว์ เช่น ขี้หมำ

1.2.5 ควำมเชื่อ คือ ควำมเชื่อด้ำนไสยศำสตร์ (ควำมเชื่อเรื่องวิญญำณ ผีสำง เทวดำ โชคลำง เครื่องรำงของขลัง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเวทมนต์คำถำ) เช่น กระสือ ปอบ สันดำนห่ำ ผีไม่มีญำติ ผีทะเล ห่ำ ห่ำรำก ห่ำรำกไส้ ควำมเชื่อด้ำนโหรำศำสตร์ (กำรท ำนำยดวงชะตำ กำรท ำนำยฝัน กำรตั้งชื่อ กำรดูฤกษ์ยำม ดูลักษณะบุคคล) ควำมเชื่อทำงศำสนำ (ควำมเชื่อ เรื่องกฎแห่งกรรม วัฏสงสำร กฎแห่งธรรมชำติ นรก สวรรค์) เช่น กำลี เดรัจฉำน เปรต สัตว์นรก

1.2.6 โรคภัยไข้เจ็บ คือ ประเภทหรืออำกำรของโรคและเชื้อโรค เช่น เชื้อโรค เนื้องอก หน้ำริดสีดวง อหิวำ ประสำท ปำกคัน โรคจิต สภำพหรือขั้นตอนของโรคที่ไม่น่ำมอง และควำมรุนแรงของโรค เช่น ฝีใกล้แตก ไส้เน่ำ ไส้ติ่งแตก

1.2.7 พืช คือ รูปลักษณ์ของพืช เช่น เผือก สมองถั่วเขียว ถิ่นที่อยู่หรือถิ่นก ำเนิด เช่น บัวใต้น้ ำ ลักษณะของพืช เช่น ดอก ดอกทอง ปำกต ำแย ปำกบอน

1.2.8 สถำนที่ คือ ลักษณะเด่นหรือลักษณะเฉพำะของสถำนที่นั้น ๆ เช่น กะเทยภูธร เด็กข้ำงถนน ปำกตลำด ส ำเพ็ง

1.2.9 ตัวละคร คือ ตัวละครที่เป็นตัวเด่นหรือตัวเอกในวรรณคดีหรือภำพยนตร์

ลักษณะนิสัยหรือพฤติกรรมของตัวละคร เช่น แก้วหน้ำม้ำ ชบำแก้ว ลูกทรพี วันทอง

1.2.10 อำวุธ คือ กำรน ำลักษณะของอำวุธและกำรใช้งำนอำวุธมำเป็นแบบเปรียบ เช่น กะเทยรถถัง จิ๋มจรวด หอกหัก

1.2.11 เผ่ำพันธุ์ คือ กำรเปรียบเทียบด้ำนเชื้อชำติ เผ่ำพันธุ์ เช่น เจ๊ก ลำว หน้ำเสี่ยว

1.2.12 อำหำร คือ ลักษณะเฉพำะหรือเอกลักษณ์ของอำหำร เช่น ปำกปลำร้ำ ไม่มีน้ ำยำ

1.2.13 อำชีพ คือ ลักษณะเฉพำะหรือลักษณะเด่นของอำชีพ เช่น กะหรี่ ขี้ข้ำ ขอทำน โจรห้ำร้อย โสเภณี อีตัว

นอกจำกนี้ อรทัย ชินอัครพงศ์ (2557, หน้ำ 90-108) ศึกษำค ำบริภำษโดยใช้

เกณฑ์ทำงวำกยสัมพันธ์ (ควำมสัมพันธ์ทำงโครงสร้ำงของค ำ) และอธิบำยควำมสัมพันธ์ทำง โครงสร้ำงของค ำโดยใช้อรรถสัมพันธ์ (ควำมสัมพันธ์ทำงควำมหมำย) พบกลวิธีกำรสร้ำงค ำ

(21)

10 บริภำษ 9 ชนิด ได้แก่ กำรใช้ค ำประสม กำรใช้ค ำมูล กำรใช้ประโยค กำรใช้นำมวลี กำรใช้

กริยำวลี กำรใช้ค ำซ้อน กำรใช้ข้อควำม กำรใช้กำรเปลี่ยนเสียง และกำรใช้กำรประสำน ดังนี้

1. กำรใช้ค ำประสม เป็นกลวิธีส ำคัญในกำรสร้ำงค ำใหม่ในภำษำตระกูลค ำโดด ชนิดของค ำประสมอำจแตกต่ำงไปจำกชนิดของค ำที่น ำมำรวมกัน พบกลวิธีกำรสร้ำงค ำประสม 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) ค ำนำมประสม ประกอบด้วยค ำนำมประสมชนิดแสดงไวยำกรณ์ แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบนำม-กริยำ เช่น งูเห่ำ กำกตด รูปแบบกริยำ-นำม เช่น หอยแครงลวก ขอทำน และค ำนำมประสมชนิดนำมล้วน แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบนำม-นำม เช่น ดอกทอง ช้ำงน้ ำ รูปแบบนำม-บุพบท/บุพบทวลี เช่น บ้ำนนอก ค ำนำมประสมทั้งสองชนิด แสดงให้เห็นโครงสร้ำงทำงวำกยสัมพันธ์และอรรถสัมพันธ์หรือควำมสัมพันธ์ทำงควำมหมำย ได้แก่ ประธำน/ผู้กระท ำ-กริยำ ประธำน/ผู้มีสภำพ-กริยำ กรรม/ผู้ถูกกระท ำ-กริยำ กริยำ-กรรม/ผู้มีสภำพ ส่วนค ำนำมประสมชนิดนำมล้วนมีรูปแบบอรรถสัมพันธ์ ได้แก่

วัตถุ (อวัยวะ)-สิ่งเปรียบเทียบ จ่ำกลุ่ม-ลูกกลุ่ม ส่วนประกอบ-ทั้งส่วน 2) ค ำกริยำประสม แบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ กริยำ-กริยำ เช่น จองหอง กริยำ-นำม เช่น ดัดจริต เนรคุณ นำม-กริยำ เช่น ปอดแหก สำรเลว 3) ค ำวิเศษณ์ คือ กริยำวิเศษณ์ และนำมวิเศษณ์ เช่น ขี้โกง ขี้เหนียว ขี้ยำ หน้ำด้ำน หน้ำเลือด

2. กำรใช้ค ำมูล เป็นค ำพื้นฐำนที่มีควำมหมำยสมบูรณ์ในตัวเอง อำจเป็นค ำ ไทยแท้ หรือเป็นค ำที่ยืมมำจำกภำษำอื่นก็ได้ และเป็นค ำที่มีพยำงค์เดียวหรือหลำยพยำงค์

ที่ไม่ได้มำจำกกำรประสมค ำ กำรใช้ค ำมูลในค ำบริภำษ แบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ ค ำมูลพยำงค์เดียว เช่น กำก ใบ้ แรด ร่ำน สัตว์ หื่น ค ำมูลสองพยำงค์ เช่น กระแดะ กะหรี่ จัญไร ระย ำ เสนียด อัปรีย์ ค ำมูลที่มำกกว่ำสองพยำงค์ เช่น กักขฬะ ซังกะบ๊วย เดรัจฉำน โสเภณี สัมภเวสี

3. กำรใช้ประโยคควำมเดียว แบ่งเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ ประโยคมูลฐำน คือ กำรบอกกล่ำว เช่น ชำติชั่ว ดั้งหัก สันหลังยำว หมำลอบกัด วัวลืมตืน กำรปฏิเสธ เช่น ปำกไม่มี

หูรูด พ่อแม่ไม่สั่งสอน ลูกไม่มีพ่อ หมำไม่แดก กำรถำม เช่น นกเอี้ยงมำเกำะมึงหรอ และประโยค โครงสร้ำงพิเศษ คือ ประโยคโครงสร้ำงย้ำยกรรมไปซ้ำย เช่น ลูกพ่อแม่ไม่สั่งสอน และประโยค โครงสร้ำงยกส่วนขยำยนำมวลีแสดงควำมเป็นเจ้ำของเป็นหัวเรื่อง เช่น ฆ้องปำกแตก หมำหัวเน่ำ หมำหำงด้วน

4. กำรใช้นำมวลี พบกำรใช้ค ำนำมวลีที่มีหน่วยขยำย 3 รูปแบบ ได้แก่ ค ำนำม (หน่วยหลัก) + ค ำนำม (หน่วยขยำย) เช่น ขยะสังคม โคตรพ่อ เดนนรก สันดำนห่ำ ค ำนำม (หน่วยหลัก) + บุพบทวลี (หน่วยขยำย) เช่น กำในฝูงหงส์ เด็กข้ำงถนน บัวใต้น้ ำ ค ำนำม

Referensi

Dokumen terkait

2553 บทคัดยอ ปจจุบันรถยนตเปนยานพาหนะที่สําคัญ และจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยในสังคมเปน อยางมาก

15 4.3 ผลการทดลองการศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัติในการรีไซเคิลโฟมของ น ้ามันหอมระเหยจากพืชตระกูลส้มทั ง 4 ชนิดเปรียบเทียบกับตัวท้าละลาย อินทรีย์ประเภทต่างๆ

โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร ฝ่ายมัธยม 73 โครงงานอาชีพผ่าน Social Media วิชาการงานอาชีพ 5 รหัสวิชา ง 31102 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อาจารย์ พรนิดา น้ำทิพย์ และ อาจารย์ เมธาพร

ฌ สารบัญ ตอ หนา ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการขออนุญาต การออกใบอนุญาตและเงื่อนไข วาดวยการนําเมล็ดพันธุยาสูบ ตนยาสูบ ใบยา ยาอัด ยาเสน หรือยาสูบ

ในก�รใช้ง�น ปริม�ณก�รใช้เงินต่อครั้ง วัตถุประสงค์ในก�รใช้ง�น และช่องท�งในก�ร ชำ�ระเงินดิจิทัลที่เลือกใช้ม�กที่สุด ซึ่งเป็น แบบสอบถ�มปล�ยปิดจำ�นวน 5 ข้อ ส่วนที่ 4 ด้�นปัจจัยส่วนประสมท�ง

3.7.2.1 การวิเคราะหคุณคาทางประสาทสัมผัส โดยทดสอบทางประสาทสั ม ผั ส ด า น สี กลิ่ น รสชาติ เนื้ อ สั ม ผั ส และ ความชอบโดยรวมโดยใชผูทดสอบที่ไมผานการฝกฝน จํานวน 30 คน นํามา

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 125 ปีที่ 41 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2565 ขั้นตอนที่ 5 ก�รตัดลูกโปงล�ง ก�รตัด ลูกโปงล�ง นำ�ไม้ม�ว�งเรียงกันต�มจำ�นวนเพื่อ

นุชนาฎ มวงมุลตรี และคณะ 2549 : 19 ใหความหมายของวิธีการแบบเปดวา เปนกิจกรรม การเรียนการสอนที่ตองอาศัยทักษะกระบวนการคิดคอนขางมากทั้งตัวครูผูสอนและนักเรียน ซึ่งจะเนน