• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 4 ผลกำรวิจัย

1. โลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อ

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” สะท้อนโลกทัศน์ด้ำน ควำมเชื่อเกี่ยวกับผี ควำมเชื่อเกี่ยวกับศำสนำ และควำมเชื่อเกี่ยวกับข้อห้ำม พบจ ำนวน 39 ค ำ ดังนี้

1.1 โลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อเกี่ยวกับผี ควำมเชื่อเรื่องผีมีอิทธิพลต่อระบบควำมคิด และวิถีชีวิตของผู้คนมำอย่ำงยำวนำน ซึ่งเป็นควำมเชื่อในอ ำนำจของสิ่งลี้ลับเหนือธรรมชำติ

ที่ยังหำข้อพิสูจน์ไม่ได้ แต่ควำมเชื่อนี้ยังคงปรำกฏให้เห็นอยู่จนถึงปัจจุบัน ดังที่คนภำคเหนือ

100 เชื่อว่ำ ผีมีอยู่ 2 ประเภท คือ ผีดีและผีร้ำย ผีดีเป็นผีที่คอยปกป้องดูแลรักษำคนในครอบครัว และชุมชนให้อยู่ดีมีสุข ส่วนผีร้ำยมักจะหมำยถึงผีที่เป็นวิญญำณเร่ร่อนตำมที่ต่ำง ๆ ตำยแล้ว ไม่ได้ไปผุดไปเกิด อำจท ำร้ำยผู้คนให้เกิดควำมเจ็บป่วย โดยเฉพำะผู้ที่ล่วงเกินทั้งโดยตั้งใจ และไม่ตั้งใจ (ปรีดำ จันทร์แจ่มศรี และอดิเทพ วงค์ทอง, 2554, หน้ำ 163)

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” สะท้อนให้เห็น ควำมเชื่อเกี่ยวกับผีของคนภำคเหนือ ซึ่งแสดงออกมำในรูปแบบของกำรใช้ภำษำจำกค ำบริภำษ พบจ ำนวน 32 ค ำ ได้แก่ บ่ำผี (ไอ้ผี) บ่ำผีกิ๋นตั๊บ (ไอ้ผีกินตับ) บ่ำผีกิ๋นไต๋ (ไอ้ผีกินไต) บ่ำผีต๋ำย (ไอ้ผีตำย) บ่ำผีต๋ำยกั๊ด (ไอ้ผีแน่นตำย) บ่ำผีต๋ำยเหงำ (ไอ้ผีตำยเหงำ) บ่ำผีต๋ำยโหง (ไอ้ผีตำยโหง) บ่ำผีบ่มัก (ไอ้ผีไม่ชอบ) บ่ำผีบีบ (ไอ้ผีบีบ) บ่ำผีบีบห ำ (ไอ้ผีบีบห ำ) บ่ำผีปกกะโหล้ง (ไอ้ผีที่อยู่ในป่ำ ส่งเสียงร้องดังปกกะโหล้ง ๆ) บ่ำเผตคอยำว (ไอ้เปรตคอยำว) บ่ำพำย (ไอ้ผีพรำย) บ่ำพำยเฒ่ำ (ไอ้ผีพรำยเฒ่ำ) บ่ำพำยต๋ำยกั๊ด (ไอ้ผีพรำยแน่นตำย) บ่ำพำยยอกหน้ำ (ไอ้ผีพรำยกระแทกหน้ำ) บ่ำพำยเฮ็บเป็ด (ไอ้ผีพรำยเห็บเป็ด) บ่ำพำยแหมะ (ไอ้ผีพรำยแฝง) บ่ำห่ำคึดผี (ไอ้โรคห่ำขึดผี) บ่ำห่ำผีต๋ำย (ไอ้โรคห่ำผีตำย) โบมผี (โลงศพใส่ผี) ผีกิ๋น (ผีกิน) ผีต๋ำย (ผีตำย) พำย (ผีพรำย) พำยโบม (ผีพรำยในโลงศพ) พำยหมำ (ผีพรำยหมำ) พำยหล้อง (ผีพรำยในโลงศพ) พำยแหมะ (ผีพรำยแฝง) อี่ผี (อี่ผี) อี่ผีกิ๋น (อี่ผีกิน) อี่ผีกิ๋นหัว (อี่ผีกินหัว) และอี่โพง (อี่ผีโพรง)

ค ำบริภำษข้ำงต้นประกอบไปด้วยชื่อหรือชนิดของผี ซึ่งชนิดของผีที่น ำมำประกอบ เป็นค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ ท ำให้เห็นควำมคิดของคนภำคเหนือที่จัดให้ผีดังกล่ำว เป็นประเภทผีร้ำย เช่น พำย (ผีพรำย) เป็นวิญญำณที่แฝงเร้นสิงสู่ในร่ำงคนเพื่อกินของสดคำว และอวัยวะภำยในของคนที่ถูกสิง บ่ำผีต๋ำยโหง (ผีตำยโหง) เป็นผีที่ตำยกะทันหันจำกอุบัติเหตุ

ถูกฆ่ำ หรือฆ่ำตัวตำย บ่ำผีต๋ำยเหงำ (ผีตำยเหงำ) เป็นผีที่ตำยโดยไร้ญำติขำดมิตรไม่มีใครสนใจ เหลียวแล อี่โพง เป็นผีที่ออกหำกินเมือกคำวของกบ เขียด เวลำกลำงคืน จมูกจะมีแสงสีแดง ส ำหรับส่องหำของกิน บ่ำผีปกกะโหล้ง เป็นผีที่อำศัยอยู่ในป่ำลึก ส่งเสียงร้องดังปกกะโหล้ง ๆ หรือปก ปกกะโหล้ง ชอบหลอกหลอนคนที่เข้ำไปในป่ำ (ศรำวุธ หล่อดี, 2561, หน้ำ 117-119) นอกจำกนี้ คนภำคเหนือยังมีควำมเชื่อว่ำ ผีมีอ ำนำจหรืออิทธิฤทธิ์กระท ำสิ่งต่ำง ๆ ที่เป็นอันตรำย ต่อคน อำจท ำให้เจ็บป่วยหรือเสียชีวิต เห็นได้จำกค ำบริภำษ เช่น บ่ำผีบีบห ำ บ่ำผีกิ๋นตั๊บ (ผีกินตับ) บ่ำผีกิ๋นไต๋ (ผีกินไต) บ่ำพำยยอกหน้ำ (ผีพรำยกระแทกหน้ำ)

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือพบควำมเชื่อเรื่องผีที่เกี่ยวกับศำสนำ เห็นได้จำก ค ำบริภำษ เช่น บ่ำเผตคอยำว (เปรตคอยำว) เป็นค ำบริภำษที่แสดงให้เห็นลักษณะของเผต (เปรต) ซึ่งเป็นผีที่เกิดจำกตอนมีชีวิตประพฤติไม่ดีและผิดศีลธรรมต่อบุพกำรี รวมทั้งชอบกินของวัด หรือเอำของวัดมำใช้โดยไม่ได้รับอนุญำตจำกพระสงฆ์ เมื่อตำยไปแล้วกลำยเป็นผีเปรต มีรูปร่ำง

101 สูง ผอม คอยำว ผมยำว มือยำว ขำยำว ตัวด ำ ปำกเล็กเท่ำรูเข็ม (ศรำวุธ หล่อดี, 2561, หน้ำ 118) ค ำบริภำษดังกล่ำวได้สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของคนภำคเหนือ แม้ว่ำปัจจุบันคนภำคเหนือส่วนมำก จะนับถือพุทธศำสนำ แต่ควำมเชื่อเรื่องผีก็ยังคงมีอิทธิพลต่อระบบควำมคิดของคนภำคเหนือ เนื่องจำกเป็นควำมเชื่อดั้งเดิมที่นับถือต่อกันมำ และผนวกเข้ำกับพุทธศำสนำอย่ำงกลมกลืน นอกจำกนี้กำรบริภำษถึงผี ควำมตำย คือ กำรสูญเสียโดยเฉพำะเสียชีวิตซึ่งเป็นเครำะห์ร้ำย เครำะห์ใหญ่ เป็นสิ่งอัปมงคล กำรน ำผีมำใช้ในกำรบริภำษจึงเปรียบเสมือนกำรมอบ สิ่งอัปมงคลที่สุดให้ผู้ถูกบริภำษ

1.2 โลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อเกี่ยวกับศำสนำ ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” สะท้อนให้เห็นควำมเชื่อเกี่ยวกับศำสนำของคนภำคเหนือ เห็นได้จำกค ำบริภำษ จ ำนวน 3 ค ำ ได้แก่ อี่ม้ำแห่ลูกแก้ว เป็นค ำบริภำษที่น ำค ำเรียกเพศหญิง ประกอบกับสิ่งมีชีวิตประเภทสัตว์มีกระดูกสันหลัง กำรกระท ำ พฤติกรรมหรืออำกำรที่สัตว์

แสดงออกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และควำมเชื่อที่เชื่อมโยงมำจำกประเพณีเกี่ยวกับพุทธศำสนำ มำประกอบเป็นค ำบริภำษ ค ำว่ำ ลูกแก้ว หมำยถึง นำค ผู้ที่จะบวช โดยมำกหมำยถึงผู้จะบวช เป็นสำมเณร (อุดม รุ่งเรืองศรี, 2547, หน้ำ 657) โดยก่อนกำรแห่ลูกแก้วจะแต่งตัวให้ผู้ที่บวช มีลักษณะคล้ำยกษัตริย์เรียกว่ำ ลูกแก้ว จำกนั้นผู้ที่เป็นลูกแก้วจะขึ้นขี่ม้ำที่มีกำรตกแต่ง อย่ำงสวยงำมและเคลื่อนขบวนแห่ลูกแก้วจำกบ้ำนไปที่วัดเพื่อประกอบพิธีทำงศำสนำ (อรุณี

ตันศิริ, 2549, หน้ำ 82) กำรบวชลูกแก้วเป็นประเพณีของคนภำคเหนือที่เชื่อว่ำ ผู้ที่ได้จัดงำน บวชสำมเณรและอุปสมบทพระภิกษุจะได้อำนิสงส์มำกล้น และหำกมีโอกำสมำร่วมงำนบวช ลูกแก้วแล้วจะได้กุศลใหญ่หลวง โดยเฉพำะผู้ที่เป็นเจ้ำภำพลูกแก้วหรือผู้อุปัฏฐำกให้ลูกแก้ว ได้บวช (พระประภำส กตทีโป และคณะ, 2564, หน้ำ 249) สิ่งดังกล่ำวแสดงให้เห็นกำรด ำเนินชีวิต ของคนภำคเหนือ ที่มีควำมเลื่อมใสศรัทธำในพุทธศำสนำ จึงมีกำรสืบทอดประเพณีกำรบวช สำมเณรหรือกำรบวชลูกแก้ว ซึ่งเป็นกำรส่งเสริมให้เด็กชำยได้เรียนรู้หลักธรรมค ำสอนของ พุทธศำสนำและเพื่อสืบทอดพุทธศำสนำให้ยั่งยืน อย่ำงไรก็ตำมกำรปรำกฏค ำบริภำษว่ำ อี่ม้ำ แห่ลูกแก้ว นั้นยังแสดงให้เห็นอีกด้วยว่ำถึงม้ำที่น ำมำแห่ลูกแก้วนั้นจะถูกประดับตกแต่งอย่ำง สวยงำม แต่ก็เป็นม้ำสำธำรณะที่ผู้ใดก็สำมำรถเช่ำไปแห่ได้ ถูกสับเปลี่ยนมือไปเรื่อย ๆ ไม่อยู่กับที่

กำรมองม้ำแห่ลูกแก้วในด้ำนลบจึงเป็นอุปลักษณ์ที่ท ำให้เกิดควำมรู้สึกด้ำนลบ เมื่อน ำมำใช้

บริภำษผู้หญิงจึงเป็นกำรเปรียบเทียบว่ำผู้หญิงที่ถูกบริภำษนั้นเปลี่ยนสำมีไปเรื่อย ๆ

102

ภำพ 1 แสดงม้ำแห่ลูกแก้ว ที่มำ: เชียงใหม่นิวส์, 2560, สื่อออนไลน์

ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือพบควำมเชื่อเรื่องนรกที่เกี่ยวข้องกับศำสนำและมี

บทบำทส ำคัญอย่ำงยิ่งต่อวิถีชีวิตของคนภำคเหนือ เห็นได้จำกค ำบริภำษ เช่น หม้อนฮก (หม้อนรก) และไอ้หม้อนฮก สะท้อนให้เห็นว่ำ คนภำคเหนือมีควำมเชื่อเรื่องนรกซึ่งเป็นผลจำกกำรกระท ำที่

ไม่ดีของคนเมื่อครั้งมีชีวิต ทั้งนี้มีนักวิชำกำรได้อธิบำยลักษณะของนรกว่ำเป็นเหวแห่งควำมทุกข์

ที่อันไม่มีควำมสุขเจริญ ภำวะเร่ำร้อนกระวนกระวำย หรือที่ไปเกิดและเสวยควำมทุกข์ของสัตว์

ผู้ท ำบำป (พระรำชวรมุนี, 2528, หน้ำ 116) นอกจำกนี้ยังมีกำรอธิบำยเกี่ยวกับนรกว่ำ นรกเป็น ภพภูมิในฝ่ำยต่ ำ เป็นภพภูมิที่ไม่มีควำมเจริญไม่มีควำมสุข เพรำะพวกที่ไปตกนรกเป็นพวกคนที่ต่ ำ ปรำศจำกควำมอิ่มใจ ปรำศจำกควำมชื่นชม พวกคนที่ตำยไปเกิดเป็นสัตว์นรกก็ไปด้วยอ ำนำจ กรรมของตน นรกภูมินี้เลวกว่ำภูมิทั้งปวงในกำมธำตุ เพรำะฉะนั้นนรกเป็นแดนหรือภูมิที่เชื่อกันว่ำ ผู้ที่ท ำบำปควำมชั่วเอำไว้ เมื่อตำยแล้วจะต้องไปเกิดไปเสวยทุกข์และถูกลงโทษ สัตว์พวกที่ไปเกิด อยู่ในโลกนรกนั้นไม่มีควำมสุขแม้สักนิด (เบญจวรรณ ชยำงกูร ณ อยุธยำ, 2559, หน้ำ 45)

ควำมเชื่อเรื่องนรกได้สะท้อนควำมคิดของคนภำคเหนือผ่ำนค ำบริภำษ ภำษำไทยถิ่นเหนือ ที่สอดคล้องกับควำมเชื่อตำมหลักค ำสอนของพุทธศำสนำที่ว่ำ ผู้ใดที่กระท ำ ควำมดีจะได้ขึ้นสวรรค์ ส่วนผู้ที่กระท ำควำมชั่วจะตกนรกและต้องชดใช้กรรมในขุมนรก กำรน ำ ค ำว่ำ หม้อนฮก (หม้อนรก) มำประกอบเป็นค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ แสดงถึงควำมต้องกำร ให้อีกฝ่ำยหนึ่งตกนรก เป็นกำรบริภำษให้เจอโลกหลังควำมตำยที่เป็นทุคติ ซึ่งเป็นควำมไม่สงบ หลังควำมตำย ดังนั้นคนภำคเหนือมีควำมเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลังควำมตำย

103 1.3 โลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อเกี่ยวกับข้อห้ำม ค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮำคนเมือง” สะท้อนให้เห็นควำมเชื่อเกี่ยวกับข้อห้ำม เห็นได้จำกค ำบริภำษ จ ำนวน 4 ค ำ ได้แก่ คึดบ้ำนคึดเมือง (ขึดบ้ำนขึดเมือง) คนคึดคนจำ (คนขึด) บ่ำคึด (ไอ้ขึด) และบ่ำห่ำคึดผี (ไอ้โรคห่ำขึดผี) ค ำว่ำ คึด (ขึด) หมำยถึง เสนียด จัญไร อัปมงคล (อุดม รุ่งเรืองศรี, 2547, หน้ำ 96) ทั้งนี้ คึด (ขึด) มักถูกกล่ำวถึงในกลุ่มชำติพันธุ์ไทที่มีระบบควำมเชื่อเรื่องขึด ซึ่งเป็นข้อห้ำมในกำรด ำรงชีวิต ดังตัวอย่ำงควำมเชื่อเรื่องขึดที่เกี่ยวกับดิน เช่น ห้ำมถมสถำนที่

สำธำรณะ ห้ำมถมดินที่ปำกถ้ ำ ห้ำมท ำลำยจอมปลวก เนื่องจำกเชื่อว่ำเป็นที่สถิตของสิ่งเหนือ ธรรมชำติ กำรถมหรือท ำลำยสิ่งดังกล่ำวถือว่ำเป็นกำรลบหลู่ ควำมเชื่อเรื่องขึดที่เกี่ยวกับต้นไม้

เช่น ห้ำมตัดต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ที่ใช้เป็นร่มเงำในกำรเดินทำง ต้นไม้ที่โตช้ำ ต้นไม้ในทำงที่ใช้สัญจร เพรำะคนภำคเหนือเชื่อว่ำจะส่งผลร้ำยต่อผู้กระท ำ นอกจำกนี้ยังมีควำมเชื่อเกี่ยวกับลักษณะ ของต้นไม้ที่ห้ำมตัดมำสร้ำงบ้ำนเรือนหรือที่อยู่อำศัยเนื่องจำกมีลักษณะไม่เป็นมงคล หำกน ำมำ สร้ำงจะยิ่งท ำให้เกิดควำมฉิบหำยแก่เจ้ำของทั้งกษัตริย์ พระสงฆ์ คนทั่วไป และสัตว์เลี้ยง ควำมเชื่อเรื่องขึดที่เกี่ยวกับน้ ำ เช่น ห้ำมถมสมุทร ห้ำมถมแหล่งน้ ำ แม้ว่ำจะถมเพื่อสร้ำงนำ บ้ำนเรือน หรือเมือง คนภำคเหนือเชื่อว่ำ ผีมีประจ ำอยู่ทุกหนทุกแห่งตำมแหล่งน้ ำ กำรถมแหล่งน้ ำ จะท ำให้ผีไม่พอใจ และท ำให้เกิดผลร้ำยที่เรียกว่ำ ตกขึด น ำมำซึ่งควำมพินำศแก่ตนเอง ครอบครัว และบ้ำนเมือง เป็นต้น (สุนทร ค ำยอด, 2557, หน้ำ 62-65)

ควำมเชื่อเรื่องขึดได้ถ่ำยทอดผ่ำนกำรสอนและกำรบอกเล่ำ จึงท ำให้ควำมเชื่อ เรื่องขึดสำมำรถจัดระเบียบควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคนกับสิ่งรอบตัว องค์ควำมรู้เรื่องดังกล่ำว สำมำรถครอบง ำวิธีคิดของคนภำคเหนือโดยปรำศจำกกำรตั้งค ำถำม เมื่อใดกล่ำวถึงเรื่อง ขึดย่อมมำพร้อมกับควำมเกรงกลัว ซึ่งเป็นกลไกส ำคัญที่ท ำให้ควำมเชื่อดังกล่ำวยังด ำรงอยู่ได้

ในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (สุนทร ค ำยอด, 2557, หน้ำ 62) จำกควำมเชื่อเรื่องขึดข้ำงต้นเมื่อน ำ ค ำว่ำ คึด (ขึด) มำประกอบเป็นค ำบริภำษภำษำไทยถิ่นเหนือ จึงหมำยถึงกำรน ำเอำควำมเชื่อ เกี่ยวกับสิ่งที่ห้ำมกระท ำหรือสิ่งที่คนต้องเกรงกลัว สิ่งที่เป็นเสนียดจัญไร กำลีบ้ำนกำลีเมือง สิ่งอัปมงคลของเมืองมำสู่คนที่ถูกบริภำษเพื่อให้เกิดควำมอัปมงคลหรืออุบำทว์อีกด้วย

จ ำนวนค ำและค่ำร้อยละของโลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อ แสดงเป็นตำรำงได้ดังนี้