• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

4) โลกทัศน์ต่อสังคม

นิภำภรณ์ ปุณณพิชชำ (2556) ศึกษำสังคมและวัฒนธรรมในภำษิตล้ำนนำ พบลักษณะสังคมล้ำนนำ 5 ประกำร คือ 1) ลักษณะทำงภูมิศำสตร์และทรัพยำกร ได้แก่

ภูมิประเทศ ภูมิอำกำศ พืชพรรณธรรมชำติ และสัตว์ป่ำ 2) วิถีชีวิตในสังคมล้ำนนำ ได้แก่

ระบบครอบครัวและเครือญำติ อำหำรกำรกิน กำรแต่งกำย และกำรประกอบอำชีพ 3) ควำมเชื่อ ได้แก่ ควำมเชื่อเรื่องกำรท ำบุญท ำทำน บุญบำป เวรกรรม บุญวำสนำ โชคชะตำ และนรก สวรรค์

สืบเนื่องมำจำกวิถีชีวิตที่ผูกพันกับพุทธศำสนำ รวมทั้งเชื่อเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชำติ เช่น ผี

เทวดำ ยักษ์ มำร ฤกษ์ยำม คำถำอำคม โชคลำง และขึด 4) ค่ำนิยม ได้แก่ กำรยึดมั่นในศำสนำ และกำรท ำบุญ กำรยกย่องระบบศักดินำ เจ้ำนำย อ ำนำจ บำรมี กำรเคำรพนับถือผู้อำวุโส กำรพึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน ชอบควำมร่ ำรวย กำรหำเงินและกำรใช้จ่ำยเงิน ควำมกตัญญู

และกำรศึกษำหำควำมรู้ 5) โลกทัศน์ชำวล้ำนนำมีโลกทัศน์ 2 ลักษณะ ได้แก่ โลกทัศน์ที่

ชำวล้ำนนำมีต่อมนุษย์ และโลกทัศน์ที่มีต่อธรรมชำติ ส ำหรับลักษณะทำงวัฒนธรรมที่พบใน ภำษิตล้ำนนำ ได้แก่ 1) วัฒนธรรมด้ำนคติธรรม และหลักคุณธรรม 2) วัฒนธรรมด้ำนสหธรรม คือ วัฒนธรรมด้ำนกำรอยู่ร่วมกับผู้อื่น มำรยำท 3) วัฒนธรรมด้ำนเนติธรรม คือ กฎหมำยและ จำรีตประเพณีที่ส ำคัญเทียบเท่ำกฎหมำย 4) วัฒนธรรมทำงด้ำนวัตถุธรรม คือวัฒนธรรมที่เป็น รูปธรรมที่มนุษย์ได้สร้ำงขึ้นเพื่อใช้ในกำรด ำรงชีวิต ประกอบด้วย ศำสนสถำน ที่อยู่อำศัย

25 เครื่องใช้ในกำรประกอบอำชีพ เครื่องใช้ในบ้ำนเรือน เครื่องดนตรี เครื่องใช้ในกำรคมนำคม และเครื่องใช้เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ

นิโลบล ภู่ระย้ำ (2556) ศึกษำโลกทัศน์ที่สะท้อนผ่ำนค ำบอกเวลำ พบมุมมองของ ชำวไทยถิ่นอีสำนเกี่ยวกับเรื่องเวลำ 4 มุมมอง ได้แก่ 1) เวลำมีควำมสัมพันธ์กับคน สัตว์

ธรรมชำติ คือ ชำวไทยถิ่นอีสำนมีวิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับธรรมชำติ คน และสัตว์อย่ำงใกล้ชิด พฤติกรรมต่ำง ๆ ของคนที่ปฏิบัติอยู่เป็นกิจวัตรนั้นมีควำมส ำคัญและมีควำมสัมพันธ์กับเวลำ 2) เวลำใน 1 วัน สำมำรถแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ได้ คือ ชำวไทยถิ่นอีสำนไม่ได้ให้ควำมส ำคัญกับ กำรบอกเวลำโดยระบบตัวเลขที่เป็นสำกลสะท้อนว่ำเป็นสังคมที่เรียบง่ำย ไม่มีกิจกรรมในแต่ละวัน ที่เป็นทำงกำรมำกเท่ำกับคนในสังคมเมืองหลวง 3) เวลำมีล ำดับแบบอดีต ปัจจุบัน และอนำคต คือ ชำวไทยถิ่นอีสำนให้ควำมส ำคัญกับกำรบอกจุดเวลำของวันมำกกว่ำชำวเมืองหลวง เนื่องจำกสังคมของคนในท้องถิ่นยังคงเป็นสังคมแบบกำรเกษตร ต้องอำศัยสภำพดินฟ้ำอำกำศ เป็นตัวก ำหนดกำรท ำกิจกรรมในช่วงเวลำต่ำง ๆ 4) เวลำเป็นสิ่งที่หมุนเวียนตลอดโดยไม่หยุดนิ่ง คือ เวลำในแต่ละวันจะหมุนเวียนจำกช่วงเวลำเช้ำ สำย บ่ำย เย็น ค่ ำ ดึก จำกดวงอำทิตย์ขึ้น ถึงพระอำทิตย์ตก

ศิริสำร เหมือนโพธิ์ทอง (2559) ศึกษำจำรึกล้ำนนำ: สำรัตถะและโลกทัศน์

พบโลกทัศน์ 3 ด้ำน ได้แก่ 1) โลกทัศน์ที่มนุษย์มีต่อมนุษย์ ทุกคนต้องท ำหน้ำที่ท ำนุบ ำรุง พุทธศำสนำและควรอยู่ร่วมกันอย่ำงสมัครสมำนสำมัคคี วัดเป็นศูนย์กลำง ซึ่งวัดและชุมชน ต่ำงมีหน้ำที่ต่อกัน 2) โลกทัศน์ที่มนุษย์มีต่อธรรมชำติ คนล้ำนนำเชื่อว่ำ ธรรมชำติเป็นสิ่งที่เกื้อกูล ชีวิตจึงอยู่ร่วมกับธรรมชำติอย่ำงกลมกลืน รู้จักบุญคุณและเห็นคุณค่ำ ของธรรมชำติ

3) โลกทัศน์ที่มนุษย์มีต่อสิ่งเหนือธรรมชำติ ชำวล้ำนนำเชื่อว่ำ สิ่งที่อยู่เหนือธรรมชำติและศำสนำ เป็นสิ่งที่สำมำรถบันดำลสิ่งดีและไม่ดีได้

ทิพวัลย์ เหมรำ (2560, หน้ำ 1396-1406) ศึกษำภำพสะท้อนทำงวัฒนธรรม ในถ้อยค ำบริภำษของผู้พูดภำษำไทยถิ่นอีสำน พบกลุ่มถ้อยค ำบริภำษที่สอดคล้องกับ ควำมหมำยร่วมของวัฒนธรรม 3 ประเด็น ได้แก่ ถ้อยค ำบริภำษที่มำจำกชำติพันธุ์ชำติก ำเนิด ถ้อยค ำบริภำษที่มำจำกสัตว์ และถ้อยค ำบริภำษที่มำจำกผี ซึ่งสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม ได้แก่

1) คนอีสำนเคำรพพ่อแม่และบรรพบุรุษ และให้ควำมส ำคัญกับเครือญำติวงศ์ตระกูล 2) คนอีสำนมีวิถีชีวิตผูกพันอยู่กับธรรมชำติและสัตว์ สังคมอีสำนเป็นสังคมเกษตรกรรม จึงพึ่งพำธรรมชำติ 3) คนอีสำนมีควำมเชื่อเรื่องผีโดยเฉพำะควำมเชื่อเรื่องผีปอบ

อนุชิต อินตำวงค์ และศรำวุธ หล่อดี (2560) ศึกษำโลกทัศน์ของชำวล้ำนนำจำก ค ำนำมล้ำนนำที่ปรำกฏในพจนำนุกรมล้ำนนำ-ไทย ฉบับแม่ฟ้ำหลวง โดยใช้แนวคิดสมมติฐำน

26 ซำเพียร์-วอร์ฟ และแนวคิดกำรวิเครำะห์ควำมหมำยของค ำของเฟร้กพบว่ำ ค ำนำมล้ำนนำ สะท้อนโลกทัศน์ชำวล้ำนนำ 3 ด้ำน ได้แก่ 1) โลกทัศน์ด้ำนควำมเชื่อ ศำสนำ และประเพณี

ชำวล้ำนนำมีควำมเชื่อเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชำติ พิธีกรรม ฤกษ์ยำม และปรำก ฏกำรณ์

นอกจำกนี้ยังมีควำมเลื่อมใสศรัทธำในพุทธศำสนำ จึงมีกำรท ำนุบ ำรุงพุทธศำสนำอย่ำงต่อเนื่อง ชำวล้ำนนำผนวกประเพณีกับพุทธศำสนำเข้ำไว้ด้วยกันอย่ำงกลมกลืน 2) โลกทัศน์ด้ำนชนชั้น และโลกทัศน์ด้ำนกำรปกครอง ชนชั้นชำวล้ำนนำประกอบด้วย ชนชั้นปกครอง คือ ชนชั้นกษัตริย์

และชนชั้นขุนนำง ส่วนชนชั้นถูกปกครอง คือ ทำส หรือข้ำ 3) โลกทัศน์ด้ำนวิถีชีวิต ประกอบด้วย ภูเขำและแหล่งน้ ำ เครื่องอำศัยเลี้ยงชีพ คือ อำหำร เครื่องแต่งกำย เครื่องอุปโภค และที่อยู่อำศัย กำรประกอบอำชีพ คือ หัตถกรรม ค้ำขำย เกษตร และปศุสัตว์ ศิลปะ คือ เครื่องดนตรี

และกำรแสดง

ศรำวุธ หล่อดี (2561) ศึกษำโลกทัศน์ของชำวล้ำนนำที่สะท้อนจำกค ำเรียกผี

ในภำษำล้ำนนำ พบโลกทัศน์ของชำวล้ำนนำ 6 ด้ำน ได้แก่ 1) ผีกับศำสนำ ผีมีบทบำทในกำรรักษำ ศำสนำด้ำนต่ำง ๆ 2) ผีกับสถำนภำพบุคคล มีควำมเกี่ยวข้องและเกื้อกูลกัน เนื่องจำก ควำมสัมพันธ์ทำงเครือญำติและบทบำทหน้ำที่ของบุคคลที่สร้ำงคุณประโยชน์แก่สังคม 3) ผีกับสถำนที่ ผีสำมำรถดูแลรักษำสถำนที่ต่ำง ๆ และเป็นที่พึ่งทำงจิตใจของชำวล้ำนนำได้

4) ผีกับอำชีพ ชำวล้ำนนำอำศัยผีให้ดูแลรักษำพื้นที่หรือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับอำชีพเกษตรกรรม รวมทั้งผีสถิตอยู่ในเครื่องมือที่ใช้ในอำชีพหัตถกรรม และผีมีอิทธิพลต่อควำมคิดจนเกิดเป็น ควำมเชื่อเรื่องผีกับอำชีพค้ำขำย 5) ผีกับเครื่องใช้ เครื่องใช้ประเภทอุปกรณ์ท ำอำหำร ส่วนประกอบของเรือน และยำนพำหนะ มักมีผีสิงสถิตอยู่เพื่อดูแลรักษำเครื่องใช้ดังกล่ำว 6) ผีกับธรรมชำติ สะท้อนให้เห็นธรรมชำติเกี่ยวกับแหล่งน้ ำ พื้นที่ พืช สัตว์ สมุนไพร และ ดำวฤกษ์ที่เกี่ยวข้องกับผี

มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์ (2562) ศึกษำโลกทัศน์ของชำวไทยภำคกลำงที่สะท้อนผ่ำน ค ำบอกเวลำพบว่ำ ชำวไทยภำคกลำงมีมุมมองต่อเวลำในหลำยรูปแบบ เวลำมีควำมสัมพันธ์

กับสิ่งแวดล้อมทำงธรรมชำติ คน และสัตว์อย่ำงใกล้ชิด เวลำมีล ำดับแบบอดีต ปัจจุบัน อนำคต สะท้อนให้เห็นว่ำชำวไทยถิ่นกลำงมีกำรมองเวลำเป็นเส้นหรือเป็นกระแส มีจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุดเช่นเดียวกับภำษำไทยถิ่นอื่น ๆ นอกจำกนี้เวลำเป็นสิ่งที่หมุนเวียนไปตลอดไม่หยุดนิ่ง ใน 1 วันสำมำรถแบ่งเวลำออกเป็นส่วน ๆ ได้ เวลำกลำงวันและกลำงคืนมีควำมแตกต่ำง อย่ำงชัดเจน

จำกกำรศึกษำเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำโลกทัศน์ในภำษำไทยถิ่น สรุปได้ว่ำ มีกำรศึกษำโลกทัศน์ในภำษำไทยถิ่นเหนือ ภำษำไทยถิ่นอีสำน และภำษำไทยถิ่นใต้

27 กำรศึกษำดังกล่ำวศึกษำจำกข้อมูลในจำรึก ถ้อยค ำบริภำษ ค ำบอกเวลำ ค ำเรียกผี นวนิยำย พจนำนุกรมภำษำไทยถิ่น เพลงพื้นบ้ำน ภำษิต และวรรณกรรมมุขปำฐะและวรรณกรรม ลำยลักษณ์

3. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำภำษำในสื่อออนไลน์

วรุณญำ อัจฉริยบดี (2549, หน้ำ 60–70) ศึกษำลักษณะเด่นของกำรใช้ภำษำใน นวนิยำยทำงอินเทอร์เน็ต พบว่ำ มีลักษณะเด่นในกำรใช้ถ้อยค ำ 6 รูปแบบ ได้แก่ 1) กำรใช้ค ำ เรียกขำน คือ วลีแสดงควำมรู้สึก ค ำเรียกญำติ ค ำสรรพนำมหรือค ำน ำหน้ำ + วลีแสดง ควำมรู้สึก ค ำน ำหน้ำชื่อ + ชื่อบุคคล ค ำสรรพนำมหรือค ำน ำหน้ำ + ลักษณะบุคลิกเฉพำะของ บุคคล 2) กำรใช้ค ำขยำย คือ กำรใช้ค ำที่ขยำยได้ทั้งค ำนำมและค ำกริยำ เช่น ยิ้มอย่ำงคุณหนู

ยิ้มอย่ำงเลือดเย็น งงอย่ำงแรง กำรใช้ค ำขยำยกริยำโดยใช้ค ำวิเศษณ์ เช่น ยิ้มเจื่อน ๆ ยิ้มแห้ง ๆ 3) กำรใช้ค ำอุทำน เช่น จ๊ำก! อะจ๊ำก!!!!! ย้ำกกกกกกกก!!!!!! เฮ้อ! 4) กำรใช้ค ำสแลง เช่น เฉิ่ม เห่ย น้ ำเน่ำ หม้อสำว เห็ดสด 5) กำรใช้ค ำยืมภำษำต่ำงประเทศ เช่น คอมพิวเตอร์

ไมโครเวฟ เปียโน อัพเดท 6) กำรใช้ภำพพจน์ คือ สัทพจน์ อติพจน์ อุปมำ นอกจำกนี้นวนิยำย ทำงอินเทอร์เน็ตยังปรำกฏรูปแบบกำรใช้ภำษำในกำรเขียนที่มักจะไม่พบในกำรเขียนนวนิยำย โดยทั่วไป 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) กำรซ้ ำพยัญชนะสะกดหรือสระ เช่น ว้ำกกกกกกกกกกก กรี๊ดดดดดดดดด ไม่จิ๊งงงงงงง 2) กำรซ้ ำเครื่องหมำยเป็นจ ำนวนหลำยครั้งเพื่อแสดงควำมรู้สึก หรือควำมต้องกำรบำงอย่ำงที่มำกกว่ำปกติ เช่น อะไรเนี่ย???? อ๊ำ!!!! 3) กำรเปลี่ยนแปลง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เช่น ขอโต๊ด มำจำก ขอโทษ เปี๋ยนไป๋ มำจำก เปลี่ยนไป 4) กำรใช้สัญรูปอำรมณ์ คือ สัญรูปอำรมณ์ที่แสดงอำรมณ์ควำมรู้สึก เช่น ^_^ แทนรอยยิ้มที่

สุภำพ T_T แทนกำรร้องไห้น้ ำตำไหลพรำก สัญรูปอำรมณ์แทนลักษณะคน เพื่อบรรยำย ลักษณะของคน ใบหน้ำ รูปร่ำง ท่ำทำง เช่น _’’_ แทนอำกำรคิ้วขมวด (+_+) แทนอำกำรมึนงง

บุษยมำศ แสงจันทร์ (2555) ศึกษำพฤติกรรมและทัศนคติต่อกำรใช้ภำษำแชทของ วัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหำนคร โดยใช้ข้อมูลจำกกำรตอบแบบสอบถำมรวม 5 ตอน พบว่ำ วัยรุ่น มีพฤติกรรมเริ่มใช้ภำษำแชทมำจำกตนเอง เนื่องจำกภำษำแชทเป็นค ำที่สั้น สะกดง่ำย สะดวก ในกำรพิมพ์ วัยรุ่นส่วนใหญ่ใช้ค ำว่ำ เทอ (เธอ) มำกที่สุดในกลุ่มค ำพ้องเสียงที่ไม่ปรำกฏใน พจนำนุกรม ค ำว่ำ ป่ำว (เปล่ำ) ในกลุ่มค ำที่เปลี่ยนตัวสะกดเพื่อควำมรวดเร็วในกำรพิมพ์ ค ำว่ำ อิอิ หุหุ คริคริ 555 (หัวเรำะ) ในกลุ่มค ำอุทำนแสดงอำรมณ์ ค ำว่ำ กำก (อ่อนหัด) ในกลุ่มค ำที่

เปลี่ยนกำรสะกดเพื่อลดควำมหยำบของค ำ ใช้ ^_^ (ยิ้ม) ในกลุ่มไอคอนแสดงอำรมณ์ และใน ส่วนทัศนคติ กลุ่มวัยรุ่นส่วนใหญ่มีทัศนคติทำงบวกอยู่ในระดับปำนกลำงโดยได้ให้เหตุผลว่ำ กำรใช้ภำษำแชทท ำให้ใช้เวลำในกำรพิมพ์ที่รวดเร็วขึ้นในกำรสนทนำ และวัยรุ่นส่วนใหญ่