• Tidak ada hasil yang ditemukan

The Development of Guidelines for Academic Administration in Education Era 4.0 of Schools under the Office of Roi-Et Primary Educational Service Area 2

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "The Development of Guidelines for Academic Administration in Education Era 4.0 of Schools under the Office of Roi-Et Primary Educational Service Area 2"

Copied!
334
0
0

Teks penuh

The Development of Guidelines for Academic Administration in Education Era 4.0 of Schools under the Office of Roi-Et Primary Educational Service Area 2. TITLE The Development of Guidelines for Academic Administration in Education Era 4.0 of Schools under the Office of Roi-Et Primary Educational Service Area 2.

การวิเคราะห์องค์ประกอบของการศึกษายุค 4.0

การสังเคราะห์องค์ประกอบของการศึกษายุค 4.0

แม้ว่านักศึกษาจะสอบวัดความรู้ความสามารถตามเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาก็ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในส่วนของหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนั้นอาจจะยังไม่เพียงพอในโลกศตวรรษที่ 21 จึงควรนำองค์ความรู้แบบบูรณาการมาใช้ ในเนื้อหากลุ่มการเรียนรู้ 8 กลุ่ม ใช้เป็นพื้นฐานความรู้และทักษะเพื่อชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้

การวิเคราะห์ขอบข่ายการบริหารงานวิชาการ

การสังเคราะห์องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการ

คาดหวัง (มาตรฐานชั้นปี) สาระการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้และสภาพผู้เรียน. งานทะเบียน. 4.10 ตรวจสอบความผูกพันของนักเรียนต่อฝ่ายหมวดงานอื่น ๆ ก่อนออกหลักฐานทางการเรียนให้. 4.11 งานเก็บรักษาและรวบรวมสถิติข้อมูลผลการเรียนของนักเรียน รวมทั้งเผยแพรและรายงานผู้เกี่ยวข้องทราบ. การเทียบโอนผลการเรียน. สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาได้ในกรณี. 5.1 ประสานการจัดการวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษาแต่งตั้ง คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน จัดท ามาตรฐาน กรอบและเกณฑ์การประเมิน เพื่อการเทียบโอน ผลการเรียนของสถานศึกษา. 5.3 จัดและด าเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน 5.4 ประกาศผลการเทียบโอนผลการเรียน. 5.5 เทียบโอนผลการเรียนจากการย้ายที่เรียนจากสถานประกอบการ จากพื้นฐานการประกอบอาชีพ. 5.6 พิจารณาหลักฐานการศึกษาแสดงถึงความรู้ความสามารถของ ผู้เรียน. 6.1 นายทะเบียนของสถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียน ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์การจบช่วงชั้นของสถานศึกษา. การออกหลักฐานแสดงผลการจบการศึกษา เป็นเอกสารส าคัญทาง การศึกษาที่สถานศึกษาจัดท าขึ้น เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการให้การรับรองผลการเรียนและ. โดยวัดและประเมินการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน สังเกตพัฒนาการ และความประพฤติของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม ผู้สอนควรเน้น การประเมินตามสภาพจริง เช่น การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือ การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ควบคู่ไปกับการใช้การทดสอบแบบต่าง ๆ อย่างสมดุล ต้องให้ความส. 140 การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการ ในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษามหาสารคามเขต 2 ปีการศึกษา 2557 จ านวนทั้งสิ้น 288 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ. 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) ด้านการวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน 3) ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารงานวิชาการของ กลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด และล าดับความต้องการจ าเป็นของการบริหารงานวิชาการของ กลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลาดับความต้องการจ าเป็นจากมากไปน้อย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียน การสอน การวางแผนงานวิชาการและการวัดผลและประเมินผล 2. การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ ของกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผลการประเมิน ความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก โดยมีแนวทางการพัฒนาแต่ละด้านดังนี้. คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีให้เพิ่มมากขึ้น. 5) การนิเทศการศึกษา 6) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและ องค์กรอื่น 7) การพัฒนาและใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พบว่า ระดับความคิดเห็นโดยภาพรวม. ในสถานศึกษา จ านวน 7 คน แนวทางการพัฒนาประกอบด้วย 10 ด้าน ได้แก่ 1) การพัฒนาหลักสูตร ของสถานศึกษา 2) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา 3) การวัดผล ประเมินผล และด าเนินการ. 144 เทียบโอนผลการเรียน. 6) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น 7) การพัฒนาและ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 8) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา 9) การวางแผนงานด้านวิชาการ 10) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา พบว่า แนวทางการพัฒนามีเหมาะสม มีความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยภาพรวม. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการบริหารงานวิชาการกับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนประถมศึกษา. ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการในยุคการศึกษา 4.0 ของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการ. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้. นวัตกรรม และเทคโนโลยี. การวัดผลและประเมินผล. การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการในยุคการศึกษา 4.0 ของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. บริบทของสถานศึกษา สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2.

จ านวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

154 2.4 แก้ไขแบบสอบถามตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เสนอแนะและนำเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ซึ่งตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและหาดัชนีความสอดคล้องของคำ ถาม IOC (Index of Item-Objective Cagruence) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของ ข้อกำหนด ถามคำถามพร้อมคำจำกัดความของคำศัพท์ที่มีเกณฑ์

แสดงความถี่และร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จ าแนกตามขนาดของโรงเรียนผู้ตอบแบบ

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการ

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการ

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการ

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการ

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการ

Referensi

Dokumen terkait

ประเสริฐ เรือนนะการ ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่พิมพ์ 2563 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ