• Tidak ada hasil yang ditemukan

การประเมินประเด็นทางการเงิน (Evaluate financial issue) กระบวนการนี้

บทที่ 2

ตาราง 10 ต่อ)

2.3 การประเมินประเด็นทางการเงิน (Evaluate financial issue) กระบวนการนี้

มุ่งเน้นไปที่การรับรู้หรือการสร้างเหตุผลและค าอธิบายทางการเงินโดยประยุกต์ใช้ความรู้และความ เข้าใจทางการเงินในบริบทที่ก าหนดโดยใช้การอธิบาย ประเมิน และลงความเห็น รวมทั้งการใช้

ความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) เมื่อจ าเป็นต้องใช้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและเป็นไปได้

เพื่อท าความเข้าใจและสร้างมุมมองที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางการเงินและหาวิธีจัดการกับปัญหา ทางการเงินที่เกิดขึ้นโดยเชื่อมโยงเข้ากับบริบททางการเงินของตนเอง รวมถึงการพิจารณาข้อมูล เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับการเงิน ที่อาจเกี่ยวข้องกับของการผ่อนช าระให้จากสถานการณ์ทาง การเงินที่เกิดขึ้น (OECD, 2014, p. 153)

ตัวอย่างข้อค าถามด้านการประเมินประเด็นทางการเงิน (Evaluate financial issue) ก าหนดสถานการณ์การเป็นหนี้และช าระหนี้ ซึ่งระบุข้อมูลเกี่ยวกับยอดหนี้ทั้งหมด อัตราดอกเบี้ย และยอดเงินขั้นต ่าที่ช าระต่อเดือน โดยมีข้อเสนอใหม่จากสถาบันทางการเงินที่ให้วงเงินในการกู้

มากขึ้น เพื่อให้นักเรียนทบทวนและประเมินผลที่เกิดจากการเปลี่ยนสภาพเงินกู้จากเงื่อนไขหนึ่ง ไปสู่อีกเงื่อนไขหนึ่ง ซึ่งในสถานการณ์ได้ระบุข้อมูล ดังตัวอย่างที่ 7

ตัวอย่างที่ 7 ข้อค าถามด้านการประเมินประเด็นทางการเงิน (Evaluate financial issue)

ข้อเสนอใหม่

โจนส์มีหนี้จ านวน 8,000 เซด กับสถาบันการเงินเฟิร์สเซด โดยมีอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 15 ต่อปี ซึ่งโจนส์ช าระหนี้พร้อมทั้งดอกเบี้ยทุก ๆ เดือน จ านวน 150 เซด หลังจากผ่านไป หนึ่งปีโจนส์ยังคงเป็นหนี้ 7,400 เซด จากนั้นมีสถาบันทางการเงินอื่นให้ข้อเสนอใหม่ให้กับโจนส์

โดยสามารถกู้เงินได้ 10,000 เซด ในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 13 ต่อปี และยังสามารถช าระหนี้พร้อม ทั้งดอกเบี้ย จ านวน 150 เซด เช่นเดิม

ค าถาม ถ้าโจนส์รับข้อเสนอในการกู้เงินกับสถาบันทางการเงินแห่งใหม่ จะเกิดผลกระทบอย่างไร กับสถานการณ์ทางการเงินของโจนส์………

ที่มา: OECD. (2017). PISA 2015 Results Student’s Financial Literacy Volume IV.

p.62

การตรวจให้คะแนน (Scoring) ค าตอบที่ได้คะแนนเต็มจะต้องเป็นข้อความที่แสดงให้

เห็นว่าโจนส์มีภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น หรือการใช้เวลานานในการช าระเงินกู้ หรือการจ่ายค่าธรรมเนียม ในการยกสัญญาเงินกู้กับสถาบันทางการเงินแห่งเดิม ตัวอย่างค าตอบที่ได้คะแนนเต็ม ดังนี้

- โจนส์จะเป็นหนี้เงินมากขึ้น

- โจนส์จะไม่สามารถควบคุมการใช้จ่ายของเธอได้

- โจนส์จะมีปัญหาหนี้สินเพิ่มขึ้น เนื่องจากต้องจ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น

- ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 13 ต่อปีของยอดเงินกู้จ านวน 10,000 เซด มีจ านวน มากกว่าดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีของยอดเงินกู้จ านวน 8,000 เซด

- อาจต้องใช้เวลานานกว่าในการช าระคืนเนื่องจากยอดเงินกู้สูงและต้องช าระหนี้

พร้อมทั้งดอกเบี้ยเหมือนเดิมทุกเดือน

- โจนส์มีค่าปรับส าหรับการช าระเงินกู้กับสถาบันทางการเงินแห่งเดิม

2.4 การประยุกต์ใช้ความรู้และความเข้าใจทางการเงิน (Apply financial knowledge and understanding) มุ่งเน้นการด าเนินการทางการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้

ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริบททางการเงิน โดยใช้ทักษะการค านวณในการแก้ปัญหาทั่วไป รวมถึงปัญหาที่มีความซับซ้อน เช่น การก าหนดสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการค านวณดอกเบี้ย จากการกู้เงินที่มีระยะเวลามากกว่า 2 ปี หรือสถานการณ์ที่ให้นักเรียนประเมินความสามารถใน การซื้อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอัตราซื้อขายที่ก าหนด (OECD, 2014, p. 154)

ตัวอย่างข้อค าถามด้านการประยุกต์ใช้ความรู้และความเข้าใจทางการเงิน (Apply financial knowledge and understanding) ก าหนดสถานการณ์ ในการค านวณ เงินโดย ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อ พิจารณาเงื่อนไขและข้อจ ากัดในการวางแผนล่วงหน้าเพื่อ ใช้จ่ายเงินในอนาคต โดยค านวณว่าจะใช้เวลานานเท่าไหร่ในการออมเงินส าหรับวันหยุด ตาม เงื่อนไขที่ก าหนด ดังตัวอย่างที่ 8

ตัวอย่างที่ 8 ข้อค าถามด้านการประยุกต์ใช้ความรู้และความเข้าใจทางการเงิน (Apply financial knowledge and understanding)

นาตาช่าท างานที่ภัตตาคาร ในช่วงเย็น 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เธอท างานในช่วงเย็น 4 ชั่วโมง และได้ค่าตอบแทน 10 เซดต่อชั่วโมง นอกจากนี้นาตาชายังได้ทิปส์สัปดาห์ละ 80 เซด นาตาชา เก็บเงินออมครึ่งหนึ่งของจ านวนเงินทั้งหมดที่เธอได้รับแต่ละสัปดาห์

ค าถาม ถ้านาตาชาต้องการเก็บเงิน 600 เซด ส าหรับวันหยุด นาตาชาต้องใช้เวลากี่

สัปดาห์

ที่มา: OECD. (2014). PISA 2012 Results: Students and Money: Financial Literacy Skills for the 21st Century (Volume VI). p.154.

3) ด้านบริบท (Context) เป็นกรอบในการพัฒนาสถานการณ์ เพื่อใช้ประเมินความ รอบรู้ทางการเงินโดยเชื่อมโยงเข้ากับบริบทที่เป็นด้านการเงินส่วนบุคล ด้านครอบครัว ด้าน การศึกษาและการท างานและด้านสังคม โดยมีรายละเอียดดังนี้

3.1 ด้านการเงินส่วนบุคคล เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจหลายอย่างใน ชีวิตประจ าวัน อาทิ การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ การบริการต่าง ๆ การเลือกซื้อสินค้าอุปโภคและบริโภค

3.2 ด้านครอบครัว บริบทดังกล่าวสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายในครัวเรือน การท า บัญชีรายรับรายจ่ายการจัดล าดับความส าคัญของค่าใช้จ่าย การวางแผนส าหรับกิจกรรมของ ครอบครัว เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการพักอาศัยที่ไม่ใช่ในลักษณะของครอบครัว เช่น การ พักอาศัยร่วมกันในอพาร์ทเม้นท์ ซึ่งบริบทดังกล่าวอาจเกิดขึ้นในอนาคตส าหรับนักเรียน

Dokumen terkait