• Tidak ada hasil yang ditemukan

การปรับปรุงข้อค าถามและภาระงาน (The Design of item or Tasks)

บทที่ 2

ตาราง 19 ต่อ)

2. การปรับปรุงข้อค าถามและภาระงาน (The Design of item or Tasks)

การสร้างและพัฒนาข้อค าถามและภาระงานตามแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) จะช่วยให้ครูวัดความสามารถของนักเรียนในระดับต่าง ๆ รวมถึงเนื้อหาและทักษะที่สัมพันธ์กับระดับความสามารถนั้น ๆ ซึ่งข้อค าถามและภาระงานที่สร้าง ขึ้นตามแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับการเรียนรู้ (Construct Map) ท าให้ได้ข้อค าตอบที่สอดคล้อง กับสภาพจริง มีความสมเหตุสมผล ส่งผลให้ข้อค าถามและภาระงานที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นมีความ เที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและในเชิงการแปลความหมาย วีรภัทร์ สุขศิริ (2557, น. 62) ได้ยกตัวอย่าง

จากภาพจงเขียนอธิบายว่า เพราะเหตุใด ทรงกลมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จึงถูกดึงดูดด้วยแท่งพลาสติกที่มีประจุลบ

คุณภาพของ ข้อสอบ

ระดับ (ก่อนปรับ)

ระดับ

(หลังปรับ) ค าอธิบาย

ค่าความยาก (b) = -0.339

3 Skill and Concepts

5 Extended

Thinking (ดีมาก)

นักเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและให้

เหตุผลที่กี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางไฟฟ้าสถิต ได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงสู่ปรากฏการณ์

อื่นที่ใกล้เคียงกันได้

MNSQ = 0.95 4

Strategic Thinking

(ดี)

นักเรียนสามารถวิเคราะห์และให้เหตุผลเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางไฟฟ้าสถิตได้อย่างถูกต้อง

CI = (0.51, 1.49) 3

Skill and Concepts (ปานกลาง)

นักเรียนสามารถอธิบายค าตอบได้สอดคล้องกับเนื้อหา ในเรื่องไฟฟ้าสถิต การเกิดประจุไฟฟ้าในวัตถุ การ เคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์

ได้ โดยที่สามารถให้เหตุผลสนับสนุนค าตอบของตนเอง ได้แต่มีบางส่วนที่ไม่สมเหตุสมผลกับเนื้อหา

T = -0.1 2

Recall

2 Recall (พอใช้)

นักเรียนสามารถระบุค าตอบที่สอดคล้องกับเนื้อหาใน เรื่องไฟฟ้าสถิต การเกิดประจุไฟฟ้าในวัตถุ การเคลื่อนที่

ของอนุภาคในสนามไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ได้แต่ไม่มี

การให้เหตุผล การให้คะแนน

0 1 2 3

1 Un-recall

1 Un-recall (ปรับปรุง)

นักเรียนระบุค าตอบที่ไม่สอดคล้องกับเนื้อหาในเรื่อง ไฟฟ้าสถิต การเกิดประจุไฟฟ้าในวัตถุ การเคลื่อนที่ของ อนุภาคในสนามไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์

Step 1 = -2.570 Step 2 = -0.020 Step 3 = 1.590

0 Non Respond

0 Non Respond (ปรับปรุงอย่าง

เร่งด่วน)

นักเรียนไม่ตอบค าถามหรือตอบไม่เกี่ยวข้องกับค าถาม

ความสัมพันธ์ระหว่างแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map) และ ข้อค าถามในวิชาคณิตศาสตร์จ านวน 2 ข้อ ที่มุ่งวัดเนื้อหาเดียวกันภายใต้แผนที่เชิงโครงสร้างของ ระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map) ดังภาพ 22 และ ภาพ 23

สมมติให้ มีนักเรียน 3 คน คือ นักเรียน D นักเรียน E และนักเรียน F ตอบค าถามทั้ง 2 ข้อ ถ้านักเรียน D และ นักเรียน E ตอบค าถามข้อที่ 1 ได้ถูกต้อง ส่วนนักเรียน F ตอบค าถามข้อที่

1 ไม่ถูกต้อง ครูสามารถแปลความหมายค าตอบนักเรียน D และนักเรียน E ได้ว่ามีความสามารถ อยู่ในระดับเข้าใจไม่สมบูรณ์ (IU) ส่วนนักเรียน F ก็สามารถระบุความสามารถตามแผนที่เชิง โครงสร้างของระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map) ได้ว่ามีความสามารถอยู่ในระดับ เข้าใจบางส่วน (PU) ลงไป เมื่อพิจารณาข้อค าถามข้อที่ 2 ถ้านักเรียน D ตอบค าถามข้อที่ 2 ถูกต้อง ครูสามารถแปลความหมายได้ว่านักเรียน D มีความสามารถอยู่ในระดับเข้าใจไม่สมบูรณ์

(IU) ส่วนนักเรียน E ตอบข้อค าถามที่ 2 ผิด นั่นหมายความว่า นักเรียน E ไม่สามารถใช้ทักษะการ สื่อสารทางคณิตศาสตร์ในการแปลโจทย์สถานการณ์ให้เป็นสมการทางคณิตศาสตร์ได้จึงมี

ความสามารถอยู่ในระดับเข้าใจบางส่วน (PU) ส่วนนักเรียน F ตอบค าถามไม่ถูกต้องทั้ง 2 ข้อ จึง แปลความหมายได้ว่านักเรียน F มีความสามารถอยู่ในระดับไม่เข้าใจ (NU)

ภาพประกอบ 22 ความสัมพันธ์ระหว่างแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้

(Construct Map) และข้อค าถามในวิชาคณิตศาสตร์จ านวน 2 ข้อ

ที่มา ปรับจาก วีรภัทร์ สุขศิริ. (2557). การสร้างแผนที่ตัวแปรเชิงทฤษฎี: แนวทางการ สร้างโมเดลความคิดในระบบการประเมินที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ. หน้า 58.

เข้าใจ (UN): วิเคราะห์

ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณและ การหารกับหลักการหารทาง คณิตศาสตร์อื่น ๆ

นักเรียนสามารถอธิบายคุณสมบัติการคูณและการหาร เข้าใจความสัมพันธ์

ระหว่างการคูณและการหารในระบบสมการทางคณิตศาสตร์ สามารถ สื่อสารทางคณิตศาสตร์ ใช้หลักการคูณและการหารแก้โจทย์ปัญหาที่

ซับซ้อน เปรียบเทียบความแตกต่างของหลักการคูณและการหารกับ หลักการทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ เลือกวิธีที่เหมาะสมในการแก้โจทย์ปัญหา เข้าใจไม่สมบูรณ์ (IU): ใช้หลักการ

คูณและการหารแก้โจทย์ปัญหา

นักเรียนสามารถอธิบายคุณสมบัติการคูณและการหาร ใช้ทักษะการสื่อสาร ทางคณิตศาสตร์และหลักการคูณและการหารแก้โจทย์ปัญหา เปรียบเทียบ ความแตกต่างของหลักการคูณและการหารกับหลักการทางคณิตศาสตร์

อื่น ๆ สามารถจ าแนกวิธีการหรือหลักการที่ไม่เหมาะสมในการแก้โจทย์

ปัญหา เข้าใจบางส่วน (PU): อธิบาย

หลักการคูณและการหาร

นักเรียนสามารถอธิบายคุณสมบัติการคูณและการหารได้เพียงบางส่วน แก้โจทย์ปัญหาได้อย่างจ ากัดโดยอาจใช้หลักการบวกและการลบหรือ หลักการทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ ใช้ทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ได้

จ ากัด แต่สามารถวิธีการหรือหลักการบางอย่างที่ไม่เหมาะสมในการแก้

โจทย์ปัญหา ไม่เข้าใจ (NU): ตอบค าถามด้วย

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการคูณและ การหารเพียงเล็กน้อย

นักเรียนไม่สามารถใช้หลักการคูณและการแก้โจทย์ปัญหา ไม่สามารถตอบ ค าถามด้วยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการคูณและการหารนักเรียนอาจจะจดจ า หลักการคูณและการหารได้ แต่ไม่สามารถน ามาใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา

ข้อค าถามที่ 1: จงแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

28 ÷ 4 = 

ข้อค าถามที่ 2: จงแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

วินัยต้องการแบ่งแอปเปิ้ลจ านวน 30 ผล ใส่ถุงจ านวน 5 ใบ ให้มีจ านวนเท่า ๆกัน วินัยจะแบ่งแอปเปิ้ลได้ถุงละกี่ผล

ภาพประกอบ 23 ตัวอย่างข้อค าถามที่วัดความสามารถของนักเรียนตามแผนที่เชิงโครงสร้างของ ระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map)

ที่มา วีรภัทร์ สุขศิริ. (2557). การสร้างแผนที่ตัวแปรเชิงทฤษฎี: แนวทางการสร้างโมเดล ความคิดในระบบการประเมินที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ. หน้า 62.

Dokumen terkait