• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

ตาราง 19 ต่อ)

3. การปรับปรุงแนวทางการให้คะแนน (Scoring Guide)

ข้อค าถามที่ 1: จงแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

28 ÷ 4 = 

ข้อค าถามที่ 2: จงแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

วินัยต้องการแบ่งแอปเปิ้ลจ านวน 30 ผล ใส่ถุงจ านวน 5 ใบ ให้มีจ านวนเท่า ๆกัน วินัยจะแบ่งแอปเปิ้ลได้ถุงละกี่ผล

ภาพประกอบ 23 ตัวอย่างข้อค าถามที่วัดความสามารถของนักเรียนตามแผนที่เชิงโครงสร้างของ ระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map)

ที่มา วีรภัทร์ สุขศิริ. (2557). การสร้างแผนที่ตัวแปรเชิงทฤษฎี: แนวทางการสร้างโมเดล ความคิดในระบบการประเมินที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ. หน้า 62.

(วีรภัทร์ สุขศิริ, 2557, น. 63) หรือจากตัวอย่างของพัชรี จันทร์เพ็ง (2561, น. 175) ที่เดิมคณะ นักวิจัยได้ก าหนดแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ไว้ 4 ระดับ และมีแนวทางการให้คะแนน คือ 0, 1, 2 และ 3 ตามล าดับ เมื่อน าผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล มาพิจารณาจึงมีการปรับปรุงแผนที่เชิงโครงเชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ดังกล่าว โดยก าหนดเป็นจ านวน 6 ระดับ และปรับปรุงแนวทางการให้คะแนนเป็น 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามล าดับ พร้อมทั้งปรับปรุงค าอธิบายค าตอบและค าอธิบายความสามารถของ นักเรียนดังตัวอย่างข้างต้น

นอกจากนี้ยังสามารถน ากระบวนการแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้

(Construct Mapping Procedure) โดยน าสารสนเทศที่ได้มาใช้ในการก าหนดจุดตัดของคะแนน (Cut Score) เพื่อใช้ในการวินิจฉัย (Diagnostic) นักเรียนในแต่ละระดับความสามารถ ว่านักเรียน มีจุดเด่นอะไรหรือมีความรู้หรือทักษะใดที่ควรส่งเสริมให้ดียิ่งขึ้น และมีจุดใดที่ควรต้องพัฒนาหรือ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยพิจารณาจากค่าระดับชั้นความยากหรือที่เรียกว่า Threshold โดยการค านวณหาค่าเฉลี่ยของ Threshold ซึ่งเกิดจากผลรวมของแต่ละ Threshold หารด้วยจ านวนข้อค าถามทั้งหมด เพื่อก าหนดจุดตัดของคะแนน (Cut Score) ให้สอดคล้องกับ สภาพจริงมากที่สุด เพื่อลดปัญหาลักษณะอัตวิสัยที่ขึ้นอยู่กับการตัดสินของแต่ละบุคคลที่

เกี่ยวข้องกับวิธีการที่ใช้ในแต่ละวิธี รวมถึงช่วยลดความล าเอียง (Bias) และสร้างความเสมอภาค ให้กับนักเรียนทุกคน (พัชรี จันทร์เพ็ง, 2561, น. 203-204, 209)

วีรภัทร์ สุขศิริ; และ ชนม์ชกรณ์ วรอินทร์ (2559, น. 24 - 26) ได้กล่าวถึงจุดเด่นของ การก าหนดจุดตัดด้วยแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ไว้ 4 ประการด้วยกัน คือ ประการที่ 1 แผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) สามารถใช้ก าหนดจุดตัดของคะแนน (Cut Score) ทั้งแบบทดสอบที่เป็นเอกมิติ

(Unidimensional) และพหุมิติ (Unidimensional) ประการที่ 2 เชื่อมโยงค าอธิบายระดับ ความสามารถเข้ากับค่าที่จะใช้เป็นจุดตัดได้อย่างกลมกลืน เนื่องจากมีแผนที่เชิงโครงสร้างของ ระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map)ที่ประกอบด้วยค าอธิบายระดับความสามารถและ ค าอธิบายค าตอบ ที่ใช้ในการสร้างข้อค าถามตามแผนที่เชิงโครงของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้

(Construct Map) ที่ก าหนด ให้คะแนนค าตอบและประมาณค่าพารามิเตอร์ของข้อค าถามและของ ผู้สอบตามระดับความสามารถ จึงช่วยให้การตัดสินใจเลือกจุดตัดของคะแนน (Cut Score) มี

ความสมเหตุสมผลบนพื้นฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ ประการที่ 3 แผนที่เชิงโครงสร้างของระดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ช่วยจัดระบบและสรุปรวมสารสนเทศที่จ าเป็นต่อการก าหนด

จุดตัดให้อยู่ในรูปของแผนภาพ ที่เชื่อมโยงสารสนเทศจากข้อสอบ ผู้สอบ คะแนน รูปแบบข้อสอบ และความคิดเห็นต่าง ๆ จากผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินคะแนนจุดตัด ซึ่งสารเทศเหล่านี้จะช่วยให้

เกิดค าอธิบายที่สมเหตุสมผลในกระบวนการก าหนดจุดตัดของคะแนน (Cut Score) และประการ ที่ 4 แผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ยังเป็นฐานให้กับการ ก าหนดจุดตัดของคะแนน (Cut Score) ด้วยวิธีอื่น ๆ เนื่องจากแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) มีการเสนอค่าที่สามารถใช้ในการก าหนดจุดตัดของคะแนน (Cut Score) พร้อมทั้งสารสนเทศประกอบการตัดสินใจให้กับผู้เชี่ยวชาญได้พิจารณาและตัดสินใจ เลือกค่าที่เหมาะสม นอกจากนี้กระบวนการก าหนดคะแนนจุดตัด (Cut Score) ด้วยแผนที่เชิง โครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) สามารถมีค าอธิบายระดับความสามารถ รายด้านตามเนื้อหาที่มุ่งวัด และค าอธิบายระดับความสามารถย่อย ๆ ก็สามารถเชื่อมโยงด้วย โมเดลวิเคราะห์ความสามารถแฝงของนักเรียนท าให้จุดตัดของคะแนนแต่ละด้านสามารถตีความ เชื่อมโยงกันได้

ยกตัวอย่างงานวิจัยของ พัชรี บุญเพ็ง (2561, น. 220) ที่ได้ประยุกต์ใช้โมเดลแผนที่

เชิงโครสร้าง (Construct Modeling) มาใช้ในการก าหนดคะแนนจุดตัดเพื่อวินิจฉัยระดับการ แก้ปัญหาทางคณิศาสตร์ของนักเรียน แบบพหุมิติ คือ มิติด้านกระบวนการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ (Mathematic Procedure) และมิติด้านกลยุทธ์ทางคณิตศาสตร์ (Mathematic Strategies: ST) โดยด าเนินการก าหนดแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้

(Construct Map) พัฒนาข้อค าถามตามแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้

(Construct Map) ที่ก าหนด จากนั้นก าหนดแนวทางการให้คะแนนของผลลัพธ์การเรียนรู้ และ วิเคราะห์โมเดลเชิงโครงสร้างและการแปลผลจากแผนที่ของไรท์ (Wright Map) จากนั้นค านวณหา ค่าเฉลี่ยของความยากในแต่ละขั้นการตอบเดียวกันของแต่ละมิติความสามารถ ดังภาพ 24

วีรภัทร์ สุขศิริ; และ ชนม์กรณ์ วรอินทร์ (2559, น. 45-46, 86) ยังได้น าแนวคิดของ แผนที่เชิงโครงสร้าง (Construct Modeling) มาใช้ในการก าหนดจุดตัดขั้นต้นส าหรับกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาตร์จากคะแนนสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน ซึ่งขั้นตอนในการด าเนินการนั้นเริ่มต้นด้วย การสร้างแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ความสามารถทาง วิทยาศาสตร์เชิงทฤษฎี โดยออกเป็น 5 ระดับ คือ 1) ระดับต ่ากว่าขั้นต้น (Below Beginning) 2) ระดับขั้นต้น (Beginning) 3) ระดับพื้นฐาน (Basic) 4) ระดับขั้นเชี่ยวชาญ (Proficient) และ 5) ระดับขั้นสูง (Advanced) เมื่อได้แผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ดังกล่าวแล้ว จึงน าไปตรวจสอบคุณภาพเพื่อให้ได้มาซึ่งแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ความสามารถทางวิทยาศาสตร์เชิงประจักษ์ จากนั้นให้

คะแนนค าตอบข้อสอบ O-NET ตามแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) เชิงประจักษ์และโมเดลการวัด จากนั้นตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของข้อมูล ค าตอบกับโมเดลรวมถึงความไม่แปรเปลี่ยน (Invariance) และสร้างสเกลคะแนนสอบจาก ค่าประมาณความสามารถ ก าหนดคะแนนจุดตัดขั้นต้นที่สอดคล้องกับแผนที่เชิงโครงสร้างของ ระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Construct Map) ที่พัฒนาขึ้น

ภาพประกอบ 24 การก าหนดจุดตัดและวินิจฉัยระดับความสามารถด้านกระบวนการทาง คณิตศาสตร์

ที่มา พัชรี จันทร์เพ็ง. (2561). การประยุกต์ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติเพื่อ การวิจัย. หน้า 223.

1. ไม่ตอบ ( Non-Responded or Irrelevance) นักเรียนไม่ตอบหรือ ตอบไม่เกี่ยวข้องกับค าถามปลายเปิด 5. การคิดเชิงกลยุทธ์หรือเชิงขยาย (Strategic or Extended Thinking) นักเรียนสามารถแสดงวิธีแก้ปัญหาที่

ซับซ้อนหลายขั้นตอนเพื่อน าไปสู่การ ตอบที่ถูกต้องและสามารถแสดงการ แก้ปัญหาได้อย่างหลากหลายและ สามารถสรุปเป็นวิธีการที่สามารถใช้ใน ระดับที่สูงขึ้นได้

3. การจ าและระลึกได้ ( Basic Memory and Reproduction) นักเรียน สามารถใช้ความเข้าใจในกระบวนการ พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ อย่างง่ายมา ประกอบการหาค าตอบ อาจท าให้

ค าตอบที่ยังคงไม่สมบูรณ์ขาดการ ประยุกต์ใช้

4. แนวคิดและทักษะขั้นพื้นฐาน (Simple Skills and Concept) นักเรียนสามารถใช้

ความเข้าใจในกระบวนการหลักการ ทฤษฎี

ทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาได้อย่าง หลากหลายสามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน มากกว่า 1 ขั้นตอนได้

2. ไม่มีความรู้พื้นฐาน ( Unrecalled Memory) นักเรียนตอบความรู้บางส่วนแต่

ผลการตอบสะท้อนให้เห็นว่าผู้เรียนไม่

สามารถจดจ าเนื้อหาที่ส าคัญหรือจ าเป็นมา เป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาได้

5

4

3

2

1

73.26

( 2 326

52

= .).

78

( 0 278

41

= .).

66

( 0 834

37

= -.).

47

( = -.)คะแนนจุดตัด (1 253

Cut Score)

คะแนนสเกล = 50+10( ) = .ระดับความสามารถของผู้เรียน 73 26

(θ = 0.448)

คะแนนสเกล = 50+10(θ) = 54.48

นอกจากนี้เมษา นวลศรี (2559) ได้พัฒนาและตรวจสอบโครงสร้างพหุมิติของความ เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการ สร้างแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map) โดยเริ่มต้นจากการ พัฒนาแผนที่เชิงโครงสร้างของระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map) ความเป็นพลเมืองที่

มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีด้วยกัน 3 มิติ ได้แก่ มิติความรู้

ประกอบด้วย 1) การระบุองค์ความรู้ การอธิบาย การวิเคราะห์ และการประเมินผลกระทบใน อนาคต มิติทักษะ ประกอบด้วย 3 ระดับ ได้แก่ 1) การเลียนแบบ 2) การมีส่วนร่วม และ 3) การ เป็นแบบอย่างที่ดี มิติจิตพิสัย ประกอบด้วย 3 ระดับ ได้แก่ 1) การรับรู้ 2) ค่านิยม และ 3) จิตส านึก จากนั้นพัฒนาแบบวัดความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบตามแผนที่เชิงโครงสร้างของ ระดับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Construct Map) ตรวจสอบโครงสร้างพหุมิติความเป็นพลเมืองที่มี

ความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และสร้างจุดตัดของ คะแนนความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบโดยใช้วิธีก าหนดเกณฑ์พื้นที่ ซึ่งสามารถแบ่งนักเรียน ออกเป็น 8 กลุ่ม ซึ่งมีจุดตัดของคะแนนที่ระดับความสามารถ θ = -1.829, -1.116, -0.999, - 0.064, 1.431, 1.474 และ 2.177 ตามล าดับ

2.4 การประยุกต์ใช้แนวคิดแผนที่เชิงโครงสร้างของผลลัพธ์การเรียนรู้

การเลือกใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์ข้อมูลถือเป็นสิ่งส าคัญ ผู้วิจัยต้องศึกษาและ ท าความเข้าใจข้อดีและข้อจ ากัดในแต่ละโปรแกรมให้ครอบคลุมก่อนน ามาใช้ในการวิเคราะห์ โดย ค านึงถึงวัตถุประสงค์ของการศึกษา ลักษณะเครื่องมือ ลักษณะการตรวจให้คะแนน ตลอดจน สารสนเทศที่ต้องการน าไปใช้ในการแปลความหมายเป็นหลัก ซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลแบบพหุมิตินั้นมีอยู่หลายโปรแกรมด้วยกัน อาทิ โปรแกรม TESTFACT ที่พัฒนาขึ้น โดย Bock; et al. 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบพหุมิติ เพื่อประมาณ ค่าพารามิเตอร์ข้อสอบและพารามิเตอร์ความสามารถของผู้สอบในโมเดลแบบสองพารามิเตอร์

(Two-Parameter Model) สามารถน าเสนอค่าความยากและค่าอ านาจจ าแนกรายมิติที่ศึกษา นอกจากนี้โปรแกรมนี้ยังเหมาะสมกับข้อมูลที่มีการตรวจให้คะแนนแบบสองค่า (Dichotomous) หรือมีการตรวจให้คะแนนแบบตอบถูกได้ 0 คะแนน และตอบถูกได้ 1 คะแนน อย่างไรก็ตาม โปรแกรม TESTFACT ไม่สามารถประมาณค่าการเดา (Lower Asymptote: c) ได้ จ าเป็นต้องมี

การน าค่าพารามิเตอร์การเดาจากการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม BILOG MG แล้วจึงน าค่าที่ได้มา วิเคราะห์ในโปรแกรม TESTFACT อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งถือเป็นข้อจ ากัดของโปรแกรมดังกล่าว นอกจาก โปรแกรม TESTFACT แล้ว ยังมีโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบพหุมิติอีกหนึ่งโปรแกรม

Dokumen terkait