• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

4.3 การประเมินระบบการทดสอบออนไลน์

ตอนที่ 1 แนวคิดที่เกี่ยวกับความรอบรู้ทางการเงิน 1.1 ค าที่ใช้แทนค าว่า Financial Literacy

ด้วยความตื่นตัวด้านความรู้ทางการเงินจากทั่วทุกมุมโลก ตลอดจนการผลักดันของ ภาครัฐ จึงมีความพยายามในก าหนดค าที่กล่าวถึงความรู้ที่ช่วยให้ปัจเจกสามารถบริหารจัดการ การเงินของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือ ค าว่า “Financial Literacy” ซึ่งในปัจจุบันได้น า ค าดังกล่าวมาใช้กันอย่างแพร่หลาย รวมถึงหน่วยงาน สถาบันทางการเงิน และนักวิชาการของ ประเทศไทย ที่ได้แปลความหมายของค าว่า ว่า “Financial Literacy” ไว้อย่างหลากหลาย อาทิ

ความรู้ทางการเงิน ความรอบรู้ทางการเงิน ความฉลาดทางการเงิน ทักษะการจัดการเงิน ซึ่งทุกค า ต่างอธิบายแง่มุมทางการเงินครอบคลุมค าว่า “Financial Literacy” แตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัย จึงได้ศึกษาถึงค าที่ใช้แทนค าว่า “Financial Literacy” ในประเทศไทย เพื่อเลือกใช้ค าที่มีนิยามและ ความหมายครอบคลุมการวิจัยครั้งนี้ จากการศึกษา พบว่า มีค าที่ใช้แปลความหมายของค าว่า

“Financial Literacy” โดยมีรายละเอียดดังนี้

กลุ่มที่ใช้ค าว่า “ความรู้ทางการเงิน” แทนค าว่า “Financial Literacy”

มหาวิทยาลัยมหิดล (2562, np) ได้ใช้ค าว่าความรู้ทางการเงิน ในการจัดท าโครงการ Mahidol Digital Convergence University (Financial Literacy) เพื่อพัฒนาความรู้ทางด้านการเงินของ นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย กรณิกา วาระวิชะนี (2560, น. 6) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทาง การเงินในวิทยานิพนธ์วิทยาศาตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย กรุงเทพ เรื่อง ความรู้ทางการเงินและความอยู่ดีมีสุขทางการเงินพนักงานในสถาบันการเงิน กรณีศึกษาจากพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์ ปภาภรณ์ ชุณหชัชราชัย; และ สุมนา บุญกาญจน์

(2560, น. 1) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินในบทความเรื่อง การสร้างเสริมการเงินภาคประชาชน เพื่อลดความเหลื่อมล ้า วิกรานต์ เผือกมงคล (2560, น. 313) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงิน ในบ ความวิจัยเรื่อง ความรู้ทางการเงินของประชาชนจังหวัดปทุมธานี อนุวัฒน์ ชลไพศาล (2559, น.

61) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินในบทความวิจัย เรื่อง พฤติกรรมการออมต ่า ความไม่คงเส้นคง วาของการวางแผนข้ามเวลา และความรู้ทางการเงิน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (ออนไลน์) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินในโครงการส่งเสริมความรู้ทางด้านการเงิน โดยเผยแพร่ความรู้บนเว็บไซต์

ธนาคารกรุงไทย (2561, น. 73) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินในการจัดท าโครงการเพื่อให้ความรู้

ทางการเงินส าหรับเยาวชนและบุคคลทั่วไปให้เห็นความส าคัญของการออมและ

การมีวินัยทางการเงิน ธนาคารกสิกรไทย (2560, น. 84) ได้ใช้ค าว่าความรู้

ทางการเงิน ในการให้ความรู้ทางการเงินโดยการอบรมและช่องทางดิจิทัล ส าหรับบุคคลทั่วไปที่

เป็นกลุ่มลูกค้าบุคคลและกลุ่มลูกค้าธุรกิจ ธนาคารออมสิน (2558, น. 2) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทาง การเงินในคู่มือการให้ความรู้ทางการเงิน

เพื่อใช้ในการเผยแพร่ความรู้ในการเสริมสร้างความรู้ทางการเงินในบุคคลทั่วไป ให้มีความเข้มแข็งและสามารถบริหารจัดการเงินส่วนบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารอาคาร สงเคาะห์ (ออนไลน์) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินส าหรับการด าเนินโครงการพัฒนาความรู้ทาง การเงินให้กับประชาชนที่มีรายได้น้อย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (2558) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินแทนค าว่า “Financial Literacy” ในคู่มือที่ชื่อว่า ความรู้ทางการเงิน เสาวนีย์

สุวรรณรงค์ (2557, น. 1) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินในบทความเรื่อง ความรู้แห่งยุคสมัย สฤณี

อาชวานันทกุล (2556) ได้แปลความหมายของค าว่า “Financial Literacy” ว่าเป็นความรู้เรื่องทาง การเงินในบทความ เรื่อง ความรู้เรื่องทางการเงิน (Financial Literacy) (1): หลักสากลและวิธีวัด อัจฉรา โยมสินธุ์ (2555, น. 5) ได้ใช้ค าว่า ความรู้ทางการเงินในหนังสือ 365 + 1…ค าศัพท์ทาง การเงินและการลงทุน

ตาราง 1 ค าที่ใช้แทนค าว่าFinancial Literacy หน่วยงาน/สถาบันการเงิน/นักวิชาการความรู้ทาง การเงินความรอบรู้ ทางการเงินความฉลาด ทางการเงินความฉลาดรู้ ทางการเงินการอ่านออก เขียนได้ทางการ เงิน

ทักษะทาง การเง ปานแก้วตา ลัคนาวานิช; และ วิลาวัณย ดึงไตรย์ภพ (2561, น.111) กรณิกา วาระวิชะนี (2560, น.6) ปภาภรณ์ ชุณหชัชราชัย; และ สุมนา บุญกาญจน์ (2560, น.1) วิกรานต์ เผือกมงคล (2560, น.313) วิไล เอื้อปิยฉัตร (2560) อนุวัฒน์ ชลไพศาล (2559, น.61) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (ออนไลน์) ธนาคารกรุงไทย (2561, น.73) ธนาคารกสิกรไทย (2560, น.84) ธนาคารออมสิน (2558, น.2)

ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน/สถาบันการเงิน/นักวิชาการความรู้ทาง การเงินความรอบรู้ ทางการเงินความฉลาด ทางการเงินความฉลาดรู้ ทางการเงินการอ่านออก เขียนได้ ทางการเงิน

ทักษะทาง การเง ธนาคารอาคารสงเคาะห์ (ออนไลน์) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (2558) เสาวนีย์ สุวรรณรงค์ (2557, น.1) สฤณี อาชวานันทกุล (2556) อัจฉรา โยมสินธุ์ (2555, น.5) ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่ง ประเทศไท(2557) จักรพงษ์ เมษพันธุ์ (2559, น. 23) คมสันต์ ขจรชีพพันธุ์งาม; และ วีรวุธ มาฆะศิรานนท์ (2558) เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2555, ออนไลน์) ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556, น.6; 2559, น.11)

จากที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อพิจารณาค าในภาษาไทย พบว่า มีหลายค าที่หน่วยงาน สถาบันทางการเงิน และนักวิชาการใช้แทนค าว่า “Financial Literacy” ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงได้ศึกษา รายละเอียดของค าว่า “Literacy” เพิ่มเติมเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาส าหรับการเลือกใช้ค าที่

สอดคล้องกับการวิจัยครั้งนี้ ค าว่า “Literacy” เมื่อพิจารณาความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ ซึ่งค าดังกล่าวเริ่มได้รับความสนใจจากนักวิชาการในช่วง กลางศตวรรษที่ 20 และได้ให้นิยามและค าจ ากัดความว่า เป็นชุดของความรู้ทักษะและกลยุทธ์ที่

บุคคลสะสมและพัฒนาขึ้นมาตลอดชีวิต ซึ่งได้มาจากกระบวนการเรียนรู้และการมีปฏิสัมพันธ์กับ บุคคลหรือสังคม โดยบุคคลจะน าความรู้ที่มีอยู่นั้นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ซึ่งเกี่ยวข้องกับ แรงจูงใจ และค่านิยม เพื่อให้บุคคลบรรลุเป้าหมายและพัฒนาความรู้และศักยภาพของตนเอง ยกตัวอย่างเช่น Reading Literacy เป็นความสามารถในการท าความเข้าใจ การน าไปใช้ และการ แสดงออกถึงความเข้าใจโดยสะท้อนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยการเขียน เพื่อให้บรรลุ

เป้าหมายของตนเอง พัฒนาความรู้และศักยภาพ ตลอดจนการมีส่วนร่วมในสังคมได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ หรือ Mathematic Literacy เป็นความสามารถของแต่ละบุคคลในการตีความทาง คณิตศาสตร์ในบริบทที่หลากหลาย รวมถึง เหตุผลทางคณิตศาสตร์และการใช้แนวคิดทาง คณิตศาสตร์ขั้นตอน ข้อเท็จจริง และเครื่องมือในการบรรยาย อธิบาย และท านายปรากฏการณ์

หรือ Science Literacy เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ โดยใช้

ความสามารถอธิบายปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์ การตีความข้อมูลและหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์ และการประเมินและออกแบบการสืบค้นทางวิทยาศาสตร์ (OECD, 2018, 27, 51, 75; UNESCO 2005,148; ETS, 2001, p. 6)

ส่วน Financial Literacy เป็นความรู้และความเข้าใจในองค์ประกอบพื้นฐานของการเงิน แนวคิดทางการเงินที่ส าคัญตลอดจนวัตถุประสงค์และคุณลักษณะพื้นฐานของผลิตภัณฑ์ทาง การเงิน รวมถึงความเสี่ยงที่อาจคุกคามความอยู่ดีมีสุขทางการเงิน ตลอดจนเงื่อนไขของประกัน ประเภทต่าง ๆ โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางปัญญา (Cognitive) เช่น การเข้าถึงข้อมูล การ เปรียบเทียบ การท านาย การคาดการณ์ และการประเมินผล เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ในบริบททาง การเงิน ซึ่งไม่เพียงแต่การใช้ความรู้ความเข้าใจเท่านั้น แต่ยังใช้ทักษะทางพฤติกรรม (Non- Cognitive) คือแรงจูงใจ (Motivation) ในการแสวงหาข้อมูลและค าแนะน าเพื่อประกอบกิจกรรม ทางการเงิน มีความเชื่อมั่น และความสามารถในการจัดการปัจจัยทางอารมณ์และจิตใจที่มี

อิทธิพลต่อการตัดสินใจทางการเงิน โดยประยุกต์ใช้ความรู้ความเข้าใจในชีวิตจริง ถ่ายโอนและน า

สิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับการเงินส่วนบุคคลมาใช้ในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อปรับปรุงความ เป็นอยู่ทางการเงินของตน (OECD, 2013, p. 145)

จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยได้พิจารณาค าในภาษาไทยที่ใช้แทนค าว่า

“Financial Literacy” พบว่า ค าว่า “ความรอบรู้ทางการเงิน” ไม่เพียงสะท้อนให้เห็นถึงความรู้

ความเข้าใจและการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะต่าง ๆ เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความสามารถใน การวิเคราะห์เหตุผลและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตีความและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามสถานการณ์หรือบริบทจริงในโลกยุคปัจจุบัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงเลือกใช้ค าว่า

“ความรอบรู้ทางการเงิน” ส าหรับการวิจัยในครั้งนี้ เนื่องจากสอดคล้องกับแนวคิดของค าว่า

“Financial Literacy” กล่าวคือ เป็นกระบวนการทางการเงินที่บุคคลควรปรับปรุงความเข้าใจ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบ แนวคิดพื้นฐานทางการเงิน ตลอดจนความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิด ภัยทางการเงิน ประยุกต์ใช้ทักษะของแต่ละบุคคลที่สร้างขึ้นจากการเรียนรู้และประสบการณ์ใน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลบริบททางการเงิน เพื่อน าความรู้และความเข้าใจดังกล่าวมาใช้ในการ ตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ (OECD, 2015, pp. 49-50)

Dokumen terkait