• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

ตาราง 7 ต่อ)

4. การใช้จ่าย (Spending)

4.1 ความรู้ทั่วไป (Broad Content areas)

การใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดท างบประมาณส่วนบุคคลและครัวเรือน การตัดสินใจซื้อ ความเข้าใจของผู้บริโภคระหว่างความต้องการและความจ าเป็น และหลีกเลี่ยง ข้อผิดพลาดของการใช้จ่ายที่ไม่สามารถควบคุมได้ ผู้บริโภคไม่สามารถซื้อและบริการทั้งหมดที่

ต้องการได้ ส่งผลให้ผู้บริโภคจะต้องเลือกซื้อสินค้าและบริการโดยจัดล าดับความส าคัญ เปรียบเทียบราคาจากหลายร้านค้าวิเคราะห์มูลค่าและความคุ้มค่าของสินค้านั้น ๆ ซึ่งโดยสินค้า และบริการส่วนใหญ่ต้องใช้เงิน ผู้บริโภคสามารถปรับปรุงความเป็นอยู่ทางการเงินผ่านการ ตัดสินใจการใช้จ่าย ความจ าเป็นในการรวบรวมข้อมูล การวางแผน และงบประมาณ

4.2 ความรู้เฉพาะ (Focused Content areas)

การตัดสินใจต้องมีการเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ของทางเลือก ในการใช้จ่าย นอกจากนี้ทางเลือกในการใช้จ่ายยังขึ้นอยู่กับราคา การโฆษณา และแรงกดดันจาก คนรอบข้าง บุคคลเลือกวิธีการช าระเงินที่หลากหลายเพื่อซื้อสินค้าและบริการ การเลือกวิธีการ ช าระเงินที่เกี่ยวข้องกับการความคุ้มค่า ต้นทุน และผลประโยชน์ของตัวเลือกการช าระเงินที่

แตกต่างกัน การบริจาคเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นกับองค์กรการกุศลและกลุ่มที่ไม่หวังผลก าไรอื่น ๆ รัฐบาลก าหนดกฎหมายและหน่วยงานเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการแก่ผู้บริโภคเพื่อ ปกป้องผู้บริโภคจากการฉ้อโกง

5. การป้องกันความเสี่ยง (Protecting Against Risk) 5.1 ความรู้ทั่วไป (Broad Content areas)

การป้องกันการฉ้อโกงและแนวทางความเสี่ยงเป็นการสร้างความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับประเภทของการทุจริตและความเสี่ยง และวิธีการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและ การเงินเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้น มีโอกาสอย่างมากที่บุคคลอาจถูกการโจรกรรมและการฉ้อโกง ผู้บริโภคจะต้องตระหนักถึงสิ่งที่ท าให้เกิดความเสี่ยงและรับรู้ถึงการฉ้อโกงที่เกิดขึ้นรวมถึงวิธีการ ป้องกันตนเอง ผู้บริโภคจ าเป็นต้องสร้างความตระหนักต่อการสูญเสียจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด ระดับของความเสี่ยงที่ได้รับอิทธิพลจากพฤติกรรมและการตัดสินใจ การเรียนรู้เกี่ยวกับสัญญาการ ประกันภัยและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ รวมถึงการประกันสุขภาพ ที่อยู่อาศัยหรือวินาศภัย การทุพพล ภาพและการประกันชีวิต จะช่วยให้ผู้บริโภคเข้าใจแนวคิดของความเสี่ยงและการประกันภัย

5.2 ความรู้เฉพาะ (Focused Content areas)

บุคคลจะใช้ความรู้เกี่ยวกับการขโมยข้อมูลประจ าตัว ความเสี่ยง และการ ประกันภัยเพื่อประเมิน บริษัท สัญญา และทรัพยากรอื่น ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และอธิบาย ขั้นตอนเพื่อป้องกันการขโมยข้อมูลประจ าตัว และรายงานที่น่าสงสัย

นอกจากนี้ Financial Literacy Education in Libraries. (2014, pp. 3-13) ยังได้

ก าหนดประเด็นและตัวชี้วัดของแต่ละเนื้อหาของความรอบรู้ทาการเงิน โดยมีรายละเอียดดังตาราง 8

ตาราง 8 ประเด็นและตัวชี้วัดของความรอบรู้ทางการเงินตามแนวคิดของ Financial Literacy Education in Libraries

เนื้อหา ความรู้ทั่วไป ความรู้เฉพาะ

1 . การหารายได้

สามารถระบุแหล่งรายได้ส่วนบุคคล เข้าใจผลกระทบของรัฐที่มีต่อเศรษฐกิจ

และรายได้ส่วนบุคคล เข้าใจความแตกต่างระหว่างงานและ

อาชีพ

รู้เกี่ยวกับภาษีของรัฐบาลกลางและ รัฐบาลท้องถิ่น

เข้าใจปัจจัยบางประการ เช่น อาชีพ การศึกษา และทักษะ ส่งผลต่อรายได้

เข้าใจความแตกต่างระหว่างดอกเบี้ย และเงินปันผล

ระบุแหล่งข้อมูลทางการเงินที่น่าเชื่อถือ เข้าใจวัตถุประสงค์และบทบาทของ ประกันสังคม โอกาสในการท างาน โปรแกรมของรัฐบาล

อธิบายถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือน

ท าความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ที่

ควรได้รับเมื่อว่างงาน เข้าใจว่ารายได้ส่งผลกระทบต่อทางเลือก

วิถีชีวิต และการตัดสินใจในการใช้จ่าย

เข้าใจวิธีการจัดการเงินส่วนบุคคลในช่วง ว่างงาน

เข้าใจว่านโยบายของรัฐ เช่น การหักภาษี

และความสัมพันธ์ระหว่างภาษีและรายได้

เข้าใจเกี่ยวกับก าไรและการขาดทุนใน ธุรกิจ

2. ก า ร ยื ม แ ล ะ เครดิต

เข้าใจแนวคิดของเครดิตและเดบิต เข้าใจการใช้เครดิตและหนี้

ระบุเหตุผลในการกู้ยืมเงิน เข้าใจว่าระยะเวลาและมูลค่าในการกู้มี

ความสัมพันธ์กับเงินและส่งผลกระทบ ต่อการช าระหนี้

เข้าใจความแตกต่างระหว่างบัตรเครดิต และบัตรเดบิต และความเหมาะสม ในการใช้

ประเมินเงื่อนไขของบัตรเครดิตหรือ ข้อตกลงในสัญญากู้ยืม

Dokumen terkait