• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะห์องค์ประกอบ และตัวบ่งชี้การสร้างสรรค์และนวัตกรรมกับกิจกรรมโปรแกรม

ครั้งที่ ชื่อกิจกรรม ตัวแปร องค์ประกอบและนิยาม ตัวบ่งชี้

1 กิจกรรมปฐมนิเทศ เริ่มต้นประสานใจ เพื่อรู้ในจุดประสงค์

(1 ชม. 30 นาที)

75 ตาราง 6 (ต่อ)

ครั้งที่ ชื่อกิจกรรม ตัวแปร องค์ประกอบและนิยาม ตัวบ่งชี้

2 กิจกรรมที่ 1 ใช้ความคิดบรรจง

เพื่อเสริมส่งให้

แปลกไป (1 ชม. 30 นาที)

ปัญญาสร้างสรรค์ (Cre Cog) นิยาม: การใช้ความคิดเพื่อ สร้างสรรค์เป็นความคิดที่

แปลกใหม่ แตกต่างจากเดิม โดยใช้ความรู้พื้นฐานและ ประสบการณ์เดิม

A1 ใช้ความรู้พื้นฐานเพื่อสร้างสิ่งใหม่

A2 ใช้ประสบการณ์เดิมเพื่อสร้าง สิ่งใหม่

A3 ความคิดในการปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่

ให้ดีขึ้น

A4 ความคิดที่จะปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่

เดิมให้มีประโยชน์มากขึ้น 3 กิจกรรมที่ 2

ปรับปรุงสิ่งเดิมมา ให้อนาคตสดใส (1 ชม. 30 นาที)

ปัญญาสร้างสรรค์ (Cre Cog) นิยาม: การคิดเพื่อปรับปรุงสิ่ง เดิมให้ดีขึ้น แปลกใหม่ มี

ประโยชน์และคุณค่ามากขึ้น กว่าเดิม

A2 ใช้ประสบการณ์เดิมเพื่อสร้าง สิ่งใหม่

A3 ความคิดในการปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่

ให้ดีขึ้น

A5 ความคิดในการสร้างคุณค่าของ สิ่งต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น

4 กิจกรรมที่ 3 สื่อสารเพื่อนเข้าใจ ให้รู้ในความคิดตน (1 ชม. 30 นาที)

ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (So In) นิยาม: การสื่อสารความคิดให้

ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของ ตนเอง

C14 การท างานร่วมกับผู้อื่น เพื่อการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

C15 ความสามารถในการสื่อสาร ความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิด ของตนเอง

C16 ความกล้าในการเสนอ ความคิดแปลกใหม่ของตนเอง ในกลุ่มเพื่อร่วมงาน

76 ตาราง 6 (ต่อ)

ครั้งที่ ชื่อกิจกรรม ตัวแปร องค์ประกอบและนิยาม ตัวบ่งชี้

5 กิจกรรมที่ 4 กล้าเสนอสิ่งแปลก ใหม่ พร้อมเปิดใจฟัง

เหตุผล (1 ชม. 30 นาที)

ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (So In) นิยาม: การเสนอความคิดแปลก ใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อน ร่วมงาน และการยอมรับ ความคิดแปลกใหม่ของผู้อื่นเพื่อ ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

C14 การท างานร่วมกับผู้อื่น เพื่อการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

C15 ความสามารถในการสื่อสาร ความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของ ตนเอง

C16 ความกล้าในการเสนอความคิด แปลกใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อน ร่วมงาน

C17 การยอมรับความคิดแปลกใหม่

ของผู้อื่น

C18 เปิดโอกาสให้สมาชิกลองผิด ลองถูก

C19 เป็นผู้น าและผู้ตามที่ที่ดีของกลุ่ม C20 ให้ความร่วมมือกับสมาชิก ในกลุ่ม

6 กิจกรรมที่ 5 กล้าเสี่ยงท้าทายตน

แม้ว่าผลอาจไม่ดี

(1 ชม. 30 นาที)

จิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Cre Aff) นิยาม: กล้าเสี่ยง กล้าท้าทาย ท าสิ่งที่อาจไม่ส าเร็จในครั้งแรก

B9 มองความล้มเหลวเป็นโอกาสใน การเรียนรู้

B11 มีความมุ่งมั่นพยายามเอาชนะ อุปสรรค

B12 เชื่อว่าทุกสิ่งพัฒนาได้

7 กิจกรรมที่ 6 ฝึกมองความผิดหวัง

เป็นพลังไม่หันหนี

(1 ชม. 30 นาที)

จิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Cre Aff) นิยาม: มองความล้มเหลวเป็น โอกาสในการเรียนรู้ อดทนต่อ อุปสรรค

B8 ชอบความท้าทาย

B10 เข้าใจว่าการสร้างสรรค์ต้องใช้

เวลาเพื่อให้ผู้อื่นยอมรับ

B11 มีความมุ่งมั่นพยายามเอาชนะ อุปสรรค

B12 เชื่อว่าทุกสิ่งพัฒนาได้

B13 มีความอดทนต่ออุปสรรค

77 ตาราง 6 (ต่อ)

ครั้งที่ ชื่อกิจกรรม ตัวแปร องค์ประกอบและนิยาม ตัวบ่งชี้

8 กิจกรรมที่ 7 ลงมือสร้างสรรค์ดี

ปัญหานี้จะคลี่คลาย (1 ชม. 30 นาที)

การสร้างนวัตกรรม (Im In) นิยาม: การสร้างชิ้นงาน โดยมี

ความเป็นนักปฏิบัตินิยม (ตั้งเป้าหมาย การวางแผน การ ลงมือปฏิบัติ ตามแผน การน า นวัตกรรมไปใช้ การประเมิน และการปรับปรุงชิ้นงาน โดย ค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์

ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น)

D21 การลงมือปฏิบัติตามความคิด สร้างสรรค์เพื่อสร้างชิ้นงานให้เกิดเป็น นวัตกรรมใหม่เป็นรูปธรรม

D22 การเป็นนักปฏิบัตินิยม ได้แก่

การตั้งเป้าหมาย รู้ถึงจุดประสงค์ในการ สร้าง การวางแผน การลงมือปฏิบัติ

ตามแผน การน านวัตกรรมไปใช้

การประเมิน การปรับปรุงชิ้นงาน D23 ค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์ของ ชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น

D24 ทักษะการท างานอย่างปลอดภัย 9 กิจกรรมที่ 8

คิดสิ่งที่แตกต่าง ไม่

ตามอย่างคน ทั้งหลาย (1 ชม. 30 นาที)

ปัญญาสร้างสรรค์ (Cre Cog) นิยาม: การใช้ความคิดเพื่อ สร้างสรรค์เป็นความคิดที่แปลก ใหม่ แตกต่างจากเดิม โดยใช้

ความรู้พื้นฐานและ ประสบการณ์เดิม

A1 ใช้ความรู้พื้นฐานเพื่อสร้างสิ่งใหม่

A2 ใช้ประสบการณ์เดิมเพื่อสร้าง สิ่งใหม่

A3 ความคิดในการปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่

ให้ดีขึ้น

A4 ความคิดที่จะปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่เดิม ให้มีประโยชน์มากขึ้น

10 กิจกรรมที่ 9 คิดต่างอย่างมากมาย

ประโยชน์หลายดี

กว่าเดิม (1 ชม. 30 นาที)

ปัญญาสร้างสรรค์ (Cre Cog) นิยาม: การคิดเพื่อปรับปรุงสิ่ง เดิมให้ดีขึ้น แปลกใหม่ มี

ประโยชน์และคุณค่ามากขึ้น กว่าเดิม

A2 ใช้ประสบการณ์เดิมเพื่อสร้าง สิ่งใหม่

A3 ความคิดในการปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่

ให้ดีขึ้น

A5 ความคิดในการสร้างคุณค่าของ สิ่งต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น

78 ตาราง 6 (ต่อ)

ครั้งที่ ชื่อกิจกรรม ตัวแปร องค์ประกอบและนิยาม ตัวบ่งชี้

11 กิจกรรมที่ 10 สื่อสารเพื่อนร่วมงาน

รู้ประสาน พูดเติม เสริม (1 ชม. 30 นาที)

ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (So In) นิยาม: การสื่อสารความคิดให้

ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของ ตนเอง

C14 การท างานร่วมกับผู้อื่นเพื่อการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่

C15 ความสามารถในการสื่อสาร ความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของ ตนเอง

C16 ความกล้าในการเสนอความคิด แปลกใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อ ร่วมงาน

12 กิจกรรมที่ 11 ยอมรับความคิดเพิ่ม ตกแต่งเติมให้แปลก

ไป (1 ชม. 30 นาที)

ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (So In) นิยาม: การเสนอความคิดแปลก ใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อน ร่วมงาน และการยอมรับ ความคิดแปลกใหม่ของผู้อื่นเพื่อ ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

C14 การท างานร่วมกับผู้อื่นเพื่อการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่

C15 ความสามารถในการสื่อสาร ความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของ ตนเอง

C16 ความกล้าในการเสนอความคิด แปลกใหม่ของตนเองในกลุ่ม เพื่อร่วมงาน

C17 การยอมรับความคิดแปลกใหม่

ของผู้อื่น

C18 เปิดโอกาสให้สมาชิกลองผิดลอง ถูก

C19 เป็นผู้น าและผู้ตามที่ที่ดีของกลุ่ม C20 ให้ความร่วมมือกับสมาชิกในกลุ่ม 13 กิจกรรมที่ 12

อยากรู้อยากทดลอง อยากมีของที่แปลกใหม่

(1 ชม. 30 นาที)

จิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Cre Aff) นิยาม: กระตือรือร้น อยากรู้

อยากเห็นอยากทดลอง

B6 กระตือรือร้นที่จะอยากรู้

อยากเห็นสิ่งต่าง ๆ

B7 ชอบอยู่ในสถานการณ์ใหม่ ๆ

79 ตาราง 6 (ต่อ)

ครั้งที่ ชื่อกิจกรรม ตัวแปร องค์ประกอบและนิยาม ตัวบ่งชี้

14 กิจกรรมที่ 13 ล้มเหลวไม่เป็นไร ยอมรับได้ว่าไม่เคย

(1 ชม. 30 นาที)

จิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Cre Aff) นิยาม: มองความล้มเหลวเป็น โอกาสในการเรียนรู้ อดทนต่อ อุปสรรค

B8 ชอบความท้าทาย

B10 เข้าใจว่าการสร้างสรรค์ต้องใช้

เวลาเพื่อให้ผู้อื่นยอมรับ

B11 มีความมุ่งมั่นพยายามเอาชนะ อุปสรรค

B12 เชื่อว่าทุกสิ่งพัฒนาได้

B13 มีความอดทนต่ออุปสรรค 15 กิจกรรมที่ 14

วางแผนลงมือท า สร้างนวัตกรรมไม่

วางเฉย (1 ชม. 30 นาที)

การสร้างนวัตกรรม (Im In) นิยาม: การสร้างชิ้นงาน โดยมี

ความเป็นนักปฏิบัตินิยม (ตั้งเป้าหมาย การวางแผน การ ลงมือปฏิบัติ ตามแผน การน า นวัตกรรมไปใช้ การประเมิน และการปรับปรุงชิ้นงาน โดย ค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์

ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น)

D21 การลงมือปฏิบัติตามความคิด สร้างสรรค์เพื่อสร้างชิ้นงานให้เกิดเป็น นวัตกรรมใหม่เป็นรูปธรรม

D22 การเป็นนักปฏิบัตินิยม ได้แก่

การตั้งเป้าหมาย รู้ถึงจุดประสงค์ใน การสร้าง การวางแผน การลงมือ ปฏิบัติตามแผน การน านวัตกรรมไป ใช้การประเมิน การปรับปรุงชิ้นงาน D23 ค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์

ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น

D24 ทักษะการท างานอย่างปลอดภัย 16 กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ

สร้างสรรค์นวัตกรรม เอย สรุปเลยว่าดีจริง

(1 ชม. 30 นาที)

2.4 ก าหนดแผนการจัดกิจกรรมและจัดท าโครงร่างตามโปรแกรมฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

2.5 ผู้วิจัยเสนอโครงร่างโปรแกรมฝึกอบรมต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม

2.6 ผู้วิจัยแก้ไขปรับปรุงโครงร่างโปรแกรมฝึกอบรม ตามข้อเสนอแนะของ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จากนั้นเสนอโครงร่างโปรแกรมฝึกอบรมต่อผู้เชี่ยวชาญพิจารณา

80 ความตรงเชิงเนื้อหาและประเมินโครงร่างโปรแกรมฝึกอบรม โดยเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางด้านจิตวิทยาและการสร้างสรรค์นวัตกรรมจ านวน 5 คน โดยมีเกณฑ์ คือ ต้องเป็นผู้ส าเร็จ การศึกษาระดับปริญญาเอก และมีประสบการณ์ด้านการสอนหรือการท างานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม หรือจิตวิทยา ไม่น้อยกว่า 5 ปี ประกอบด้วย

2.6.1 รองศาสตราจารย์ ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู อาจารย์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

2.6.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ศรีหิรัญ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

2.6.3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรปภา อารีย์ราษฎร์ อาจารย์มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดนวัตกรรม

2.6.4 อาจารย์ ดร.พรเทพ เสถียรนพเก้า อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาการศึกษา

2.6.5 อาจารย์ ดร.ชัยพร พงษ์พิสันต์รัตน์ อาจารย์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาการศึกษา

2.7 ผู้เชี่ยวชาญประเมินโครงร่างโปรแกรมฝึกอบรมโดยผลการประเมิน ความเหมาะสมของโปรแกรม ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีข้อแนะน า ดังนี้

- กิจกรรมมีความหลากหลายน่าสนใจ การด าเนินกิจกรรมตรงตาม วัตถุประสงค์ที่ต้องการพัฒนา เหมาะสมกับระดับของผู้เข้าอบรม

- กิจกรรมที่ใช้การประดิษฐ์ บางกิจกรรมอาจใช้เวลามาก ควรปรับเวลาที่ระบุ

ในโปรแกรมให้มีความยืดหยุ่น อาจไม่ใช้เวลาเท่ากันทุกกิจกรรม

- กิจกรรมที่ 4 ให้พิจารณาวิธีการด าเนินการว่า เน้นจุดประสงค์เพื่อให้

นักศึกษาสร้างสรรค์ ควรจ ากัดวัสดุอุปกรณ์ หรือ ก าหนดสิ่งที่ประดิษฐ์หรือไม่ เสนอแนะให้นักศึกษา สามารถเลือกสร้างสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองตามขอบเขตของการสร้างสรรค์

- ปรับลักษณะการพิมพ์ เช่น ค าถูกผิด การฉีกค า

โดยผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมอยู่ระหว่าง 4.47 – 4.56 มีค่าเฉลี่ยทุกกิจกรรมเท่ากับ 4.52 มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 ผู้วิจัยติดต่อผู้เชี่ยวชาญ โดยโทรศัพท์ ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และเข้าพบ ด้วยตนเอง เพื่อขอความอนุเคราะห์เป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบความเหมาะสมของโปรแกรม ฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

Garis besar

Dokumen terkait