• Tidak ada hasil yang ditemukan

ก าหนดการกิจกรรมในการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง การสร้างสรรค์และ

นวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ครั้งที่ วันที่ กิจกรรม เวลา

1 19 ตุลาคม 2564 ปฐมนิเทศ 1 ชั่วโมง 30 นาที

2 21 ตุลาคม 2564 กิจกรรมที่ 1 1 ชั่วโมง 30 นาที

3 26 ตุลาคม 2564 กิจกรรมที่ 2 1 ชั่วโมง 30 นาที

4 28 ตุลาคม 2564 กิจกรรมที่ 3 1 ชั่วโมง 30 นาที

5 2 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 4 1 ชั่วโมง 30 นาที

6 5 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 5 1 ชั่วโมง 30 นาที

7 9 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 6 1 ชั่วโมง 30 นาที

8 11 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 7 1 ชั่วโมง 30 นาที

9 16 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 8 1 ชั่วโมง 30 นาที

10 18 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 9 1 ชั่วโมง 30 นาที

11 23 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 10 1 ชั่วโมง 30 นาที

12 25 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 11 1 ชั่วโมง 30 นาที

13 30 พฤศจิกายน 2564 กิจกรรมที่ 12 1 ชั่วโมง 30 นาที

14 2 ธันวาคม 2564 กิจกรรมที่ 13 1 ชั่วโมง 30 นาที

15 7 ธันวาคม 2564 กิจกรรมที่ 14 1 ชั่วโมง 30 นาที

16 9 ธันวาคม 2564 ปัจฉิมนิเทศ 1 ชั่วโมง 30 นาที

3.4 หลังจากเสร็จสิ้นการฝึกอบรมครบ จ านวน 16 ครั้ง ผู้วิจัยใช้แบบวัด

การสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อให้นักศึกษาตัวอย่างท าแบบวัด หลังการทดลอง เพื่อให้ได้คะแนนหลังการทดลอง (Post Test)

3.5 ผู้วิจัยน าผลคะแนนก่อนการทดลอง (Pre Test) และคะแนนหลังการทดลอง (Post Test) มาวิเคราะห์ทางสถิติและเปรียบเทียบผลต่อไป

88 4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 การวิเคราะห์ข้อมูล

4.1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของแบบวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป เพื่อหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละ องค์ประกอบ

4.1.2 ตรวจสอบการแจกแจงแบบปกติ (Assessing Normality) ใช้วิธีทดสอบ ด้วยค่าสถิติ Kolmogorov-Smirnov Test โดยพิจารณาจากค่า Sig แล้วเปรียบเทียบกับค่าระดับ นัยส าคัญที่ก าหนดไว้ ซึ่งในที่นี้ก าหนดไว้ที่ระดับ .05 (ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2554)

4.1.3 ด าเนินการเปรียบเทียบคะแนนของการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏตัวอย่าง โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนก่อน หลังใช้โปรแกรม ฝึกอบรม โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้

4.1.3.1 กรณีที่ข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น ให้พิจารณา Wilk’s Lamda มีค่า Sig น้อยกว่าระดับนัยส าคัญที่ก าหนด แสดงว่าผลการวัดค่าตัวแปรตามในแต่ละครั้ง หรือแต่ละช่วงเวลามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่า Treatment ที่ให้มีผลต่อตัวแปรตามซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาของการได้รับ Treatment

(ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2554)

4.1.3.2 พิจารณา ค่า Sig. ในตาราง Pairwise Comparisons โดยท า การเปรียบเทียบรายคู่ (I) Time และ (J) Time เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วค่า Sig ไม่เกินระดับนัยส าคัญ ที่ระดับ .05 ตามที่ผู้วิจัยตั้งไว้แสดงว่าคะแนนก่อน - หลังได้รับการฝึกอบรมมีความแตกต่างกัน

4.1.4 ผู้วิจัยท าการวิเคราะห์เนื้อหาที่ได้จากการสะท้อนคิดจากการเข้าร่วม กิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ (Content Analysis) และ สังเคราะห์เนื้อหา (Content Synthesis)

4.2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

4.2.1 สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

4.2.2 การตรวจสอบการแจกแจงแบบปกติ (Assessing Normality) โดยใช้

ค่าสถิติ Kolmogorov-Smirnov Test

4.2.3 วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้สถิติ

แบบ Multivariate: One-way MANOVA

จากรายละเอียดข้างต้น สามารถสรุปขั้นตอนด าเนินการวิจัยในระยะที่ 3 ปรากฏดัง ภาพประกอบ 4

89

ภาพประกอบ 4 ขั้นตอนการด าเนินการวิจัยในการศึกษาผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง การสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

วัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นตัวอย่าง ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรม

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นตัวอย่างเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรม จ านวน 16 ครั้ง

วัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏตัวอย่าง หลังเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรม

น าคะแนนการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นตัวอย่างทั้ง ก่อนและหลังการทดลองมาท าการวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้สถิติ

Multivariate:

One-way MANOVA

90 บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และ นวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้วิจัยได้แบ่งการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปนี้

1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ล าดับขั้นตอนในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ส าหรับงานวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ก าหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์และ แปลผลดัง ต่อไปนี้

N แทน จ านวนประชากร % แทน จ านวนร้อยละ

แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน n แทน จ านวนตัวอย่าง

p แทน ระดับนัยส าคัญทางสถิติ

𝑥2 แทน ค่าไค-สแควร์

GFI แทน ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน

AGFI แทน ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว CFI แทน ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ

SRMR แทน ค่าเฉลี่ยก าลังสองของเสร็จเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน RMSEA แทน ค่าเฉลี่ยก าลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ df แทน ชั้นของความอิสระ

R2 แทน ค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์

FS แทน ค่าสัมประสิทธิ์คะแนนองค์ประกอบ

h2 แทน ค่าความร่วมกัน

91 Skewness แทน ค่าความเบ้

Kurtosis แทน ค่าความโด่ง Cre Cog แทน ปัญญาสร้างสรรค์

Cer Aff แทน จิตใจเชิงสร้างสรรค์

So In แทน ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม Im In แทน การสร้างนวัตกรรม ล าดับขั้นตอนในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ล าดับขั้นตอนในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ ดังนี้

ระยะที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การสร้างสรรค์และ นวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาหลักการแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การสร้างสรรค์และนวัตกรรมจาก การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ

ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA)

ระยะที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง การสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ขั้นตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การสร้างและพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์การทดลองจัดโปรแกรมการฝึกอบรม

ระยะที่ 3 ผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยระยะที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การ สร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาหลักการ แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ผลการศึกษาเอกสาร ต าราของไทยและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์

และนวัตกรรมปรากฏองค์ประกอบการสร้างสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่ชัดเจน 4 ด้าน ได้แก่

92 ด้านปัญญาสร้างสรรค์ (Creativity Cognitive) ด้านจิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Creativity Affective) ด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social Interaction) ด้านการสร้างนวัตกรรม (Implement Innovations)

Garis besar

Dokumen terkait