• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตัวบ่งชี้เชิงพฤติกรรม ความหมาย และค าอธิบายเชิงพฤติกรรมเพื่อประเมินการสร้างสรรค์

97 2. จิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Creativity Affective) หมายถึง คุณลักษณะภายใน

ตัวบุคคลที่แสดงถึงความกระตือรือร้นอยากรู้อยากเห็น กล้าเสี่ยง กล้าท้าทาย มองความล้มเหลว เป็นโอกาสในการเรียนรู้ อดทนต่ออุปสรรค

3. ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social Interaction) หมายถึง คุณลักษณะในการสื่อสาร ความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของตนเอง ความกล้าในการเสนอความคิดแปลกใหม่ของตนเอง ในกลุ่มเพื่อนร่วมงาน การยอมรับความคิดแปลกใหม่ของผู้อื่นเพื่อก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

4. การสร้างนวัตกรรม (Implementing Innovations) หมายถึง คุณลักษณะ ในการลงมือสร้างชิ้นงานให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่เป็นรูปธรรม โดยมีความเป็นนักปฏิบัตินิยม คือ มีการตั้งเป้าหมาย การวางแผน การลงมือปฏิบัติ ตามแผน การน านวัตกรรมไปใช้ การประเมิน และการปรับปรุงชิ้นงาน โดยค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น

จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ท าให้ได้ข้อสรุปที่น าไปสู่การก าหนดองค์ประกอบของการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ซึ่งสามารถ ก าหนดตัวบ่งชี้เชิงพฤติกรรม ความหมาย และค าอธิบายเชิงพฤติกรรมของการสร้างสรรค์และ นวัตกรรม ปรากฏดังตาราง 9

98 ตาราง 9 (ต่อ)

องค์ประกอบ นิยาม ความหมาย ตัวบ่งชี้พฤติกรรม

2) ด้านจิตใจ เชิงสร้างสรรค์

(Creativity Affective)

คุณลักษณะภายในตัวบุคคลที่แสดง ถึงความกระตือรือร้นอยากรู้อยาก เห็น กล้าเสี่ยง กล้าท้าทาย มอง ความล้มเหลวเป็นโอกาสในการ เรียนรู้ อดทนต่ออุปสรรค

2.1 กระตือรือร้นที่จะอยากรู้อยากเห็น สิ่งต่าง ๆ

2.2 ชอบอยู่ในสถานการณ์ใหม่ ๆ 2.3 ชอบความท้าทาย

2.4 มองความล้มเหลวเป็นโอกาสใน การเรียนรู้

2.5 เข้าใจว่าการสร้างสรรค์ต้องใช้เวลา เพื่อให้ผู้อื่นยอมรับ

2.6 มีความมุ่งมั่นพยายามเอาชนะ อุปสรรค

2.7 เชื่อว่าทุกสิ่งพัฒนาได้

2.8 มีความอดทนต่ออุปสรรค 3) ด้าน

ปฏิสัมพันธ์ทาง สังคม (Social Interaction)

คุณลักษณะในการสื่อสารความคิด ให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของตนเอง ความกล้าในการเสนอความคิด แปลกใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อน ร่วมงาน การยอมรับความคิดแปลก ใหม่ของผู้อื่นเพื่อก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่

3.1 การท างานร่วมกับผู้อื่นเพื่อ การสร้างสรรค์สิ่งใหม่

3.2 ความสามารถในการสื่อสาร ความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิดของ ตนเอง

3.3 ความกล้าในการเสนอความคิด แปลกใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อ ร่วมงาน

3.4 การยอมรับความคิดแปลกใหม่

ของผู้อื่น

3.5 เปิดโอกาสให้สมาชิกลองผิดลองถูก 3.6 เป็นผู้น าและผู้ตามที่ที่ดีของกลุ่ม 3.7 ให้ความร่วมมือกับสมาชิกในกลุ่ม

99 ตาราง 9 (ต่อ)

องค์ประกอบ นิยาม ความหมาย ตัวบ่งชี้พฤติกรรม

4) ด้านการ สร้างนวัตกรรม (Implement - Innovations)

คุณลักษณะในการลงมือสร้าง ชิ้นงานให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่

เป็นรูปธรรม โดยมีความเป็นนัก ปฏิบัตินิยม คือ มีการ ตั้งเป้าหมาย การวางแผน การลงมือปฏิบัติ ตาม แผน การน านวัตกรรมไปใช้ การ ประเมิน และการปรับปรุงชิ้นงาน โดยค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์

ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น

4.1 การลงมือปฏิบัติตามความคิด สร้างสรรค์เพื่อสร้างชิ้นงานให้เกิดเป็น นวัตกรรมใหม่เป็นรูปธรรม

4.2 การเป็นนักปฏิบัตินิยม ได้แก่

การตั้งเป้าหมาย รู้ถึงจุดประสงค์ใน การสร้าง การวางแผน การลงมือ

ปฏิบัติตามแผน การน านวัตกรรมไปใช้

การประเมิน การปรับปรุงชิ้นงาน 4.3 ค านึงถึงคุณค่า และประโยชน์

ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น

4.4 ทักษะการท างานอย่างปลอดภัย

องค์ประกอบที่ 1 ปัญญาสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบที่ 2 จิตใจเชิงสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 8 ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบที่ 3 ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ประกอบด้วย 7 ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบที่ 4 การสร้างนวัตกรรม ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้

สรุปผลการสังเคราะห์องค์ประกอบการสร้างสรรค์และนวัตกรรม พบว่า องค์ประกอบ ของการสร้างสรรค์และนวัตกรรมมีด้วยกันทั้งสิ้น 4 ประกอบ 24 ตัวบ่งชี้ สามารถสร้างเป็นโมเดล โครงสร้างของการสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในขั้นต่อไป

ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA)

3.1 ค่าสถิติพื้นฐานของการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏของตัวอย่างที่ใช้วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจ านวน 1,200 คน ผลปรากฏดังตาราง 10

100

Garis besar

Dokumen terkait