• Tidak ada hasil yang ditemukan

สรุปองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

และนวัตกรรม ตัวชี้วัด

1. Partnership for 21st Century Skills (2007)

1. คิดสร้างสรรค์

(Think Creatively)

- คิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ (จ านวน, คุณภาพ) - สามารถประเมินความคิดของตนเอง - ปรับแต่งเปลี่ยนแปลงความคิดจากของเดิม - มองลงไปในรายละเอียด

2. ท างานกับผู้อื่นอย่าง สร้างสรรค์

(Work Creatively with Others)

- สื่อสารความคิดของตนเองสู่ผู้อื่น - ประยุกต์ใช้และต่อยอดพัฒนาความคิดของ ตนเอง - ใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น - กล้าเสนอความคิดเห็นที่แปลกให้ และ

ข้อเสนอแนะในการท างาน - เข้าใจข้อจ ากัดของโลกแห่งความเป็นจริง - เห็นความล้มเหลวเป็นโอกาสในการเรียนรู้

- เชื่อว่าการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ จะ น าไปสู่ความส าเร็จ

3. สร้างนวัตกรรม (Implement Innovations)

สร้างชิ้นงานตามสิ่งที่ได้คิดสร้างสรรค์ไว้ ให้เกิด เป็นรูปธรรม

26 ตาราง 1 (ต่อ)

ผู้เชี่ยวชาญ องค์ประกอบการสร้างสรรค์

และนวัตกรรม ตัวชี้วัด

2.วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2558)

1. การคิดอย่างสร้างสรรค์

(Think Creatively)

- คิดริเริ่มในสิ่งที่เป็นประโยชน์

– ใช้เทคนิควิธีการคิดอย่างหลากหลาย – ใช้ความคิดที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและ

ความรู้

– แสดงความคิดของตนเองต่อผู้อื่นได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ – ประเมินและปรับปรุงความคิดของตนเองเพื่อ

น าไปสู่การสร้างสรรค์

2. การท างานร่วมกับบุคคล

อื่นอย่างสร้างสรรค์

(Work Creatively with Others)

- สื่อสารความคิดของตนเองกับผู้อื่นได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ - เปิดรับและตอบสนองความคิดเห็นใหม่ ๆ

ของบุคคลอื่น – แสดงความคิดริเริ่มในการปฏิบัติงานและปรับ

ให้สอดคล้องกับบริบท – ท างานร่วมกับบุคคลอื่นด้วยความร่วมมือร่วมใจ – แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลอื่นเพื่อ

ความส าเร็จของงาน - เคารพความคิดของคนอื่นทั้งที่สอดคล้องและ

ไม่สอดคล้องกับความคิดของตน 3. การสร้างสรรค์นวัตกรรม

ให้ส าเร็จ (Implement Innovations)

- วางแผนด าเนินการพัฒนานวัตกรรมที่สืบ

เนื่องมาจากคิดสร้างสรรค์

– ด าเนินการพัฒนานวัตกรรมตามแผนที่ก าหนด

ไว้อย่างมีประสิทธิภาพ – ประเมินคุณภาพของนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น

โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์

– ปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่องของนวัตกรรมให้ดี

ขึ้นอย่างต่อเนื่อง

27 ตาราง 1 (ต่อ)

ผู้เชี่ยวชาญ องค์ประกอบการสร้างสรรค์

และนวัตกรรม ตัวชี้วัด

3.ศูนย์ประกัน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ (2557)

1. การคิดสร้างสรรค์

(Think Creativity)

- ใช้เทคนิคสร้างความคิดที่หลากหลายแปลกใหม่

- อธิบาย ขัดเกลา วิเคราะห์แนวคิดของตนเอง เพื่อสร้างแนวคิดที่หลากหลายมากขึ้น 2. การท างานอย่าง

สร้างสรรค์ร่วมกับผู้อื่น (Work Creativity with Others)

- น าแนวคิดใหม่ ๆ สื่อสารและพัฒนาร่วมกับ

ผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ – เปิดใจกว้างยอมรับมุมมองที่แปลกใหม่

หลากหลาย – ให้ความคิดเห็นต่อกลุ่มในการท างาน – แสดงความเป็นผู้น าในการคิดสร้างสรรค์

– เข้าในสภาพการณ์ที่เป็นข้อจ ากัดของความคิด

ใหม่ ๆ – น าความผิดพลาดมาเป็นโอกาสในการเรียนรู้

- เข้าใจว่าการสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็น กระบวนการที่ต้องใช้เวลา เป็นกระบวนการที่

มีวัฎจักรของความส าเร็จและความผิดพลาด 3. การน านวัตกรรมสู่การ

ปฏิบัติ (Implement Innovations)

สามารถด าเนินการให้เกิดการสนับสนุนการน า นวัตกรรมไปใช้

4.จิตติพงษ์ ฉนฺทโก พุตธขันท์ (2562)

1. ทักษะการคิดอย่าง สร้างสรรค์

- สร้างมุมมองแปลกใหม่ ทั้งที่เป็นการปรับปรุง เล็กน้อยจากของเดิม หรือเป็นหลักการที่แหวก

แนวโดยสิ้นเชิง - ชักชวนกันท าความเข้าใจ ปรับปรุง วิเคราะห์

และประเมินมุมมองของตนเองเพื่อพัฒนา ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดอย่างสร้างสรรค์

28 ตาราง 1 (ต่อ)

ผู้เชี่ยวชาญ องค์ประกอบการสร้างสรรค์

และนวัตกรรม ตัวชี้วัด

2. ทักษะในการท างาน ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์

- การพัฒนา ลงมือปฏิบัติ และสื่อสารมุมมอง

ใหม่กับผู้อื่นเสมอ - เปิดใจรับและตอบสนองต่อมุมมองใหม่ ๆ

หาทางได้ข้อคิดเห็นจากกลุ่ม รวมทั้ง

การประเมินผลงานจากกลุ่มเพื่อน าไปปรับปรุง - ท างานด้วยความคิดหรือวิธีการใหม่ ๆ และ

เข้าใจข้อจ ากัดของโลกในการยอมรับมุมมอง ใหม่ ๆ

- มองความล้มเหลวเป็นโอกาสเรียนรู้ เข้าใจว่า ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นเรื่องระยะ ยาว เข้าใจวัฎจักรของความส าเร็จเล็ก ๆ และ ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ ว่าจะน าไปสู่

การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

3. การประยุกต์สู่นวัตกรรม - การลงมือปฏิบัติตามความคิดสร้างสรรค์

เพื่อน าไปสู่ผลส าเร็จที่เป็นรูปธรรม 5.อนุชา โสมาบุตร

(2556)

1. การคิดสร้างสรรค์

(Think Creativity)

- การระดมสมอง สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่

– มีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์

และประเมินแนวความคิด – ปรับปรุงและพัฒนางานในเชิงสร้างสรรค์

2. การท างานร่วมกับผู้อื่นได้

อย่างสร้างสรรค์ (Work Creativity with Others)

- สื่อสารแนวคิดใหม่ ๆ ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ – เปิดใจกว้างและยอมรับในมุมมองหรือ

โลกทัศน์ใหม่ ๆ ที่ส่งผลต่อระบบการท างาน – เป็นผู้น าในการสร้างสรรค์งาน

– มีความรู้และเข้าใจในสภาพการณ์ซึ่งอาจเป็น

ข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อจ ากัด

29 ตาราง 1 (ต่อ)

ผู้เชี่ยวชาญ องค์ประกอบการสร้างสรรค์

และนวัตกรรม ตัวชี้วัด

– พร้อมที่จะยอมรับความคิดหรือสภาพการณ์

ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น – สามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อ

การเรียนรู้

– เข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ต้องใช้

เวลา - สามารถน าเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไข

และพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง 3. การน าเอานวัตกรรมมาสู่

การปฏิบัติ (Implement Innovations)

- ปฏิบัติเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดคุณประโยชน์ต่อ การปรับใช้และพัฒนาจากผลแห่งนวัตกรรมที่

น ามาใช้

6.Amabile (1988) 1. คุณสมบัติในตัวบุคคล ค่านิยม บุคลิกภาพ และ คุณลักษณะ (Various Personality Traits)

- ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความอยากรู้อยากเห็น - ความตื่นตัว - การแสดงออกตามความรู้สึก

2. แรงจูงใจในตนเอง (Self- motivation)

- ความกระตือรือร้น - ความรู้สึกท้าทายเมื่อเจอปัญหา - การท างานส าคัญ - ความเชื่อมั่น - ความมุ่งมั่นต่อความคิด

3. ความสามารถพิเศษ (Special Cognitive Abilities)

- การแก้ปัญหาเฉพาะ - ยุทธวิธีในการคิดสร้างสรรค์

4. ความกล้าเสี่ยง (Risk – orientation)

- นอกกรอบแหวกแนว - ชอบความท้าทาย

5. ความเชี่ยวชาญในงาน (Expertise in the Area)

- มีพรสวรรค์

- มีประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับเฉพาะในงาน

30 ตาราง 1 (ต่อ)

ผู้เชี่ยวชาญ องค์ประกอบการสร้างสรรค์

และนวัตกรรม ตัวชี้วัด

6. การท างานร่วมกัน (Qualities of the Group)

- มองในด้านสติปัญญาและสังคม - การท างานเป็นทีม

7. ประสบการณ์ที่

หลากหลาย (Diverse Experience)

- ความรู้ทั่วไปในวงกว้างและประสบการณ์ที่

ได้รับจากการท างาน 8. ทักษะทางสังคม (Social

Skill)

- มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน - มีความคิดที่เปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็น

จากผู้อื่น

9. สติปัญญา (Brilliance) - ความฉลาดของมองทั่วไป หรือ IQ

10. การไม่ยึดติด (Naivete) - ไม่ผูกติดล าเอียงกับความเชื่อเก่า ๆ นิยามเก่า ๆ 7.Morrison (2010) 1. ความเสี่ยง (Risk) - กล้าทดลอง คิดและท าสิ่งใหม่ ๆ

2. ความคลุมเครือไม่ชัดเจน (Ambiguity)

- ท างานที่มีความแน่นอนและไม่แน่นอนได้

- ท างานแบบไม่ต้องมีโครงสร้างได้

3. ความเป็นจริง (Authenticity)

- มองในสิ่งที่เป็นจริง ความเป็นไปได้

4. ความเป็นอิสระ (Independence)

- ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมหรืออิทธิพลหรือ

การตัดสินใจของผู้อื่นหรือผู้อื่น - ไม่เต็มใจที่จะยอมอยู่ใต้บังคับบัญชาของตัวเอง

- ไม่ชอบจัดการ 5. ความคิดยืดหยุ่น

(Resiliency)

- ความสามารถในการตอบสนองและ การปรับตัวและเรียนรู้ได้แม้ในยามทุกข์และ ความเครียด

6. การยอมรับตนเอง (Self-Acceptance)

- รู้จักความสามารถของตนเอง และใช้พัฒนา ศักยภาพตนเอง

31

Garis besar

Dokumen terkait