• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงจ านวนมหาวิทยาลัย จ านวนคณะ และจ านวนนักศึกษาที่เป็นตัวอย่าง

ภาคของ

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย คณะ

สาขาวิชา

จ านวนนักศึกษา (คน) ภาคเหนือ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏ

เชียงใหม่

คณะครุศาสตร์

สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 278

2. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ล าปาง

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

สาขาวิชาดนตรี 82

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

1. มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

สาขาวิชาศิลปกรรม 91

2. มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย

คณะครุศาสตร์

สาขาวิชานาฏศิลป์ 109

ภาคกลาง 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

สาขาวิชาภาษาจีน 276

2. มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คณะครุศาสตร์

สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ 104 ภาคใต้ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สุราษฎร์ธานี

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

สาขาวิชาจิตกรรม 121

2. มหาวิทยาลัยราชภัฏ สงขลา

คณะศิลปกรรมศาสตร์

สาขาวิชาการออกแบบ 139

รวมตัวอย่างทั้งสิ้น 1,200

2. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ส าหรับนักศึกษา มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้

2.1 ผู้วิจัยสรุปประเด็นที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ มาท าการสังเคราะห์เพื่อสร้างเป็นแบบวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นลักษณะแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)

69 ตอนที่ 2 แบบวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรม เป็นแบบมาตราส่วน ประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ จริงที่สุด จริง ปานกลาง ไม่จริง ไม่จริงที่สุด แบ่งออกเป็น 4 คือ 1) ด้านปัญญาสร้างสรรค์ 2) ด้านจิตใจเชิงสร้างสรรค์ 3) ด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และ 4) ด้านการสร้างนวัตกรรม

2.2 ผู้วิจัยน าร่างแบบวัดเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อตรวจสอบ ความถูกต้องเหมาะสม และด าเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ

2.3 ผู้วิจัยน าแบบวัดที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของอาจารย์

ที่ปรึกษาเสนอผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 คน เพื่อพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและการสร้างสรรค์และนวัตกรรม เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก มีประสบการณ์ด้านการสอนหรือท างานในสาขาวิชาที่

เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า 5 ปี ได้แก่

2.3.1 รองศาสตราจารย์ ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู อาจารย์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

2.3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ศรีหิรัญ อาจารย์มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

2.3.3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรปภา อารีย์ราษฎร์ อาจารย์มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดนวัตกรรม

2.3.4 อาจารย์ ดร.พรเทพ เสถียรนพเก้า อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาการศึกษา

2.3.5 อาจารย์ ดร.ชัยพร พงษ์พิสันต์รัตน์ อาจารย์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาการศึกษา

ก าหนดเกณฑ์การให้คะแนนระดับความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้

+1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถาม สอดคล้องเหมาะสมกับนิยามศัพท์

การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อค าถาม สอดคล้องเหมาะสมกับนิยามศัพท์

การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

- 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถาม ไม่สอดคล้อง ไม่เหมาะสมกับนิยาม ศัพท์การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

ผู้วิจัยน าคะแนนที่ได้จากการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนี

ความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence: IOC) โดยเกณฑ์การพิจารณาความตรง ใช้ค่าความสอดคล้องที่มีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป จึงถือว่าข้อความมีความสอดคล้อง (สมบัติ ท้ายเรือค า,

70 2555) ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้ประเมินแบบวัด พบว่า จากค าถามทั้งหมด 26 ข้อ มีค าถามที่มีคะแนนผ่าน เกณฑ์ 24 ข้อ ซึ่งทั้ง 24 ข้อที่ผ่านเกณฑ์ มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.80 - 1.00

2.4 ผู้วิจัยน าแบบวัดที่ผ่านเกณฑ์ ปรับปรุงแก้ไขในแบบวัดเรียบร้อยแล้ว น าไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักศึกษาที่ไม่ใช่ตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏ จ านวน 150 คน

2.5 ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าอ านาจจ าแนกอยู่ระหว่าง 0.49 - 0.89 โดยใช้วิธีการแจกแจงของที (T-distribution)

2.6 หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับเท่ากับ 0.92 และการหาค่า ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item Total Correlation)

2.7 ผู้วิจัยจัดพิมพ์แบบวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ Google form และตรวจสอบความถูกต้องของ การสะกดค าเพื่อเตรียมน าไปเก็บข้อมูลกับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏต่อไป

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 ผู้วิจัยด าเนินการน าเครื่องมือที่สร้างทั้งหมดส่งให้กับคณะกรรมการจริยธรรม การวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อให้พิจารณารับรองจริยธรรมในการวิจัย และได้รับ การรับรองเลขที่ 219/2563

3.2 ผู้วิจัยติดต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 8 แห่ง ที่เป็นตัวอย่าง เพื่อขอความ อนุเคราะห์น าลิงก์ Google form แบบวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรมออนไลน์ (เนื่องจากเกิด เหตุการณ์โรคระบาดในประเทศไทย) เพื่อเก็บข้อมูลกับนักศึกษาตามสาขาวิชาที่เป็นตัวอย่าง

3.3 เมื่อได้รับการตอบรับจากอาจารย์ประจ าสาขาวิชาที่เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตัวอย่างในการวิจัย ผู้วิจัยขอให้อาจารย์ประจ าสาขาวิชาวัดนักศึกษาในขณะที่อยู่ในเวลาเรียน โดยวิธีการส่งลิงค์แบบวัดให้นักศึกษา ผู้วิจัยตรวจสอบการตอบแบบวัดผ่านอินเทอร์เน็ต เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของแบบวัดที่นักศึกษาตัวอย่างตอบกลับมา

3.4 ผู้วิจัยน าแบบวัดที่เก็บรวบรวมได้มาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์

โดยคัดเลือกแบบวัดที่มีคุณภาพตอบครบถ้วน จ านวน 1,200 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 (พิจารณาแล้วไม่มีแบบวัดที่ผิดปกติ) เพื่อน ามาวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยืนยัน (CFA)

71 4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล

4.1 การวิเคราะห์ข้อมูล

4.1.1 ผู้วิจัยน าแบบวัดที่ได้กลับคืนมาจากตัวอย่าง บันทึกลงในโปรแกรม ส าเร็จรูปเพื่อเตรียมข้อมูลส าหรับการวิเคราะห์ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

4.1.2 ผู้วิจัยท าการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับแรก (The First Order Confirmatory Factor Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์โมเดลโครงสร้างพื้นฐานของ แต่ละองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบ

4.1.3 ผู้วิจัยท าการวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง (The Second Order Confirmatory Factor Analysis) เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของ องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ โดยมีเกณฑ์การตรวจสอบความสอดคล้องหรือความตรงเชิงโครงสร้าง ดังนี้

(สมบัติ ท้ายเรือค า, 2555)

1) ค่าไค-สแควร์ (𝑥2) ถ้าค่าไค-สแควร์ มีค่าสูงมาก แสดงว่าฟังก์ชัน ความกลมกลืนมีค่าแตกต่างจากศูนย์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ หมายความว่า แบบจ าลอง ไม่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ถ้าค่าไค-สแควร์มีค่าต่ ามาก ยิ่งมีค่าใกล้ศูนย์มากเท่าไร แสดงว่า แบบจ าลองสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

2) ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index : GFI) ซึ่งเป็นอัตราส่วนของความแตกต่างระหว่างฟังก์ชันความกลมกลืนจากแบบจ าลองก่อนปรับและ หลังปรับ แบบจ าลองกับฟังก์ชันความกลมกลืน ก่อนนับแบบจ าลอง ดัชนี GFI มีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 ดัชนี GFI ที่เข้าใกล้ 1.00 แสดงว่าแบบจ าลองมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

3) ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (Adjusted Goodness of Index : AGFI) น าดัชนี GFI มาปรับแก้โดยค านึงถึงขนาดองศาอิสระ ค่าดัชนี AGFI ที่เข้าใกล้ 1.00 แสดงว่าแบบจ าลองมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

4) ดัชนีรากก าลังสองเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่า (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) เป็นค่าที่บ่งบอกความไม่สอดคล้องของ แบบจ าลองที่สร้างขึ้นกับเมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมของประชากร ค่า RMSEA ที่น้อยกว่า .05 แสดงว่ามีความสอดคล้องสนิท (Close Fit) ค่าที่ใช้ได้และถือว่าแบบจ าลองที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับ เมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมของประชากรไม่ควรเกิน 0.08

5) การวิเคราะห์เศษเหลือหรือความคลาดเคลื่อน (Analysis of

Residuals) ถ้าแบบจ าลองมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ค่าความคลาดเคลื่อนใน

72 รูปแบบคะแนนมาตรฐานจะเข้าใกล้ศูนย์และไม่ควรเกิน 2.00 ถ้ามีค่าเกิน 2.00 ต้องปรับแบบจ าลอง สามารถสรุปเกณฑ์ได้ตามตาราง 5 ดังนี้

Garis besar

Dokumen terkait