• Tidak ada hasil yang ditemukan

องค์ประกอบการสร้างสรรค์และนวัตกรรมจากการวิเคราะห์–สังเคราะห์

คุณลักษณะจาก การวิเคราะห์

Amabile (1988)

Partnership for 21st Century

Skills (2007)

Morrison (2010)

จิตติพงษ์ ฉนฺทโก (2562)

อนุชา โสมาบุตร (2556)

ศูนย์ประกัน คุณภาพ พระนคร

เหนือ (2557)

วิชัย วงษ์ใหญ่

และมารุต พัฒผล (2558) 1. คุณลักษณะ

ทางความคิด

3. ความ สามารถพิเศษ (Special Cognitive Abilities) 5. ความ เชี่ยวชาญในงาน (Expertise in the Area) 7. ประสบการณ์

ที่หลากหลาย (Diverse Experience) 9. สติปัญญา (Brilliance)

1. คิดสร้างสรรค์

(Think Creatively)

3. ความเป็นจริง (Authenticity) 4. ความเป็นอิสระ (Independence) 5. ความคิด ยืดหยุ่น (Resiliency)

1. ทักษะการคิด อย่างสร้างสรรค์

1. การคิด

สร้างสรรค์

(Think Creativity)

1. การคิด

สร้างสรรค์

(Think Creativity)

1. การคิดอย่าง สร้างสรรค์

(Think Creatively)

2. คุณลักษณะ ภายใน

1. คุณสมบัติใน ตัวบุคคลค่านิยม บุคลิกภาพ และ คุณลักษณะ (Various Personality Traits) 2. แรงจูงใจใน ตนเอง (Self- motivation) 4. ความกล้า เสี่ยง (Risk – orientation) 10. การไม่ยึด ติด (Naivete)

1. ความเสี่ยง (Risk) 2. ความ คลุมเครือ ไม่ชัดเจน (Ambiguity) 6. การยอมรับ ตนเอง (Self- Acceptance)

3. คุณลักษณะ ทางสังคม

6. การท างาน ร่วมกัน (Qualities of the Group) 8. ทักษะทาง สังคม (Social Skill)

2. ท างานกับ ผู้อื่นอย่าง

สร้างสรรค์

(Work Creatively With Others)

7. ความเป็น ตัวตน

(Uniqueness) 2. ทักษะใน การท างาน ร่วมกับผู้อื่น อย่าง สร้างสรรค์

2. การท างาน ร่วมกับผู้อื่นได้

อย่าง สร้างสรรค์

(Work Creativity with Others)

2. การท างาน อย่าง สร้างสรรค์

ร่วมกับผู้อื่น (Work Creativity with Others)

2. การท างาน ร่วมกับบุคคล อื่นอย่าง

สร้างสรรค์

(Work Creatively With Others)

34 ตาราง 3 (ต่อ)

คุณลักษณะจาก การวิเคราะห์

Amabile (1988)

Partnership for 21st Century

Skills (2007)

Morrison (2010)

จิตติพงษ์ ฉนฺทโก (2562)

อนุชา โสมาบุตร (2556)

ศูนย์ประกัน คุณภาพ พระนคร

เหนือ (2557)

วิชัย วงษ์ใหญ่

และมารุต พัฒผล (2558) 4. คุณลักษณะ

การปฏิบัติ

3. สร้าง

นวัตกรรม (Implement Innovations)

3. การ ประยุกต์สู่

นวัตกรรม

3. การน าเอา นวัตกรรมมาสู่

การปฏิบัติ

(Implement Innovations)

3. การน า นวัตกรรมสู่

การปฏิบัติ

(Implement Innovations)

3. การ สร้างสรรค์

นวัตกรรมให้

ส าเร็จ (Implement Innovations)

สรุปนิยามองค์ประกอบการสร้างสรรค์และนวัตกรรม คือ

การสร้างสรรค์และนวัตกรรม หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการสร้างสรรค์

ชิ้นงาน โดยการคิดอย่างสร้างสรรค์ เจตคติเชิงสร้างสรรค์ ทักษะทางสังคมเพื่อสร้างสรรค์งาน เพื่อให้เกิดผลผลิตที่มีความแปลกใหม่ที่มีประโยชน์และมีคุณค่า ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ ได้แก่

1. คุณลักษณะทางความคิด หมายถึง ความสามารถในการน าความรู้พื้นฐานหรือ ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่มาปรับปรุง สร้างสรรค์เป็นความคิดที่แปลกใหม่ แตกต่างจากเดิม ปรับปรุง สิ่งเดิมให้ดีขึ้น มีประโยชน์มีคุณค่ามากขึ้น

2. คุณลักษณะภายใน หมายถึง คุณลักษณะภายในตัวบุคคลที่แสดงถึงความ กระตือรือร้นอยากรู้อยากเห็น กล้าเสี่ยง กล้าท้าทาย มองความล้มเหลวเป็นโอกาสในการเรียนรู้

อดทนต่ออุปสรรค

3. คุณลักษณะทางสังคม หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจใน ความคิดของตนเอง ความกล้าในการเสนอความคิดแปลกใหม่ของตนเองในกลุ่มเพื่อนร่วมงาน การยอมรับความคิดแปลกใหม่ของผู้อื่นเพื่อก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

4. คุณลักษณะการปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถในการลงมือสร้างชิ้นงานให้เกิดเป็น นวัตกรรมใหม่เป็นรูปธรรม โดยมีความเป็นนักปฏิบัตินิยม คือ มีการ ตั้งเป้าหมาย การวางแผน การลงมือปฏิบัติตามแผน การน านวัตกรรมไปใช้ การประเมิน และการปรับปรุงชิ้นงาน โดยค านึงถึง คุณค่าและประโยชน์ของชิ้นงานใหม่ที่สร้างขึ้น

32

35 5. การวัดการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

เนื่องจากการสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นทักษะใหม่ จึงยังไม่มีเครื่องมือที่วัด ทางด้านนี้โดยตรง ผู้วิจัยจึงน าการวัดการสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรมเพื่อเปรียบเทียบการวัด โดยมีรายละเอียดดังนี้

Amabile (2010) เสนอว่า คุณลักษณะของบุคคลที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์

มี 10 ประการ

1. ค่านิยม บุคลิกภาพ และคุณลักษณะ (41%) เป็นคุณสมบัติในตัวบุคคล เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา ความอยากรู้อยากเห็น ความตื่นตัว การแสดงออกตามความรู้สึก

2. แรงจูงใจในตนเอง (40%) เกิดขึ้นจากภายในของตนเอง

ความกระตือรือร้น ความรู้สึกท้าทายเมื่อเจอปัญหา การท างานส าคัญ ความเชื่อมั่น ความมุ่งมั่นต่อ ความคิด

3. ความสามารถพิเศษ (38%) คือ พรสวรรค์พิเศษเฉพาะบุคคล การแก้ปัญหาเฉพาะ ยุทธวิธีในการคิดสร้างสรรค์

4. ความกล้าเสี่ยง (34%) กล้าท าอะไรนอกกรอบแหวกแนว ชอบความท้าทาย

5. ความเชี่ยวชาญในงาน (33%) พรสวรรค์ ประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับ เฉพาะในงาน

6. คุณภาพของกลุ่ม (30%) การท างานร่วมกัน มองในด้านสติปัญญาและ สังคม การท างานเป็นทีม

7. ประสบการณ์ที่หลากหลาย (18%) ความรู้ทั่วไปในวงกว้างและ ประสบการณ์ที่ได้รับจากการท างาน

8. ทักษะทางสังคม (17%) ทักษะทางสังคมหรือการเมืองที่ดีมีความสัมพันธ์

ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน และมีความคิดที่เปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น 9. สติปัญญา (13%) ความฉลาดของมองทั่วไป หรือ IQ

10. การไม่ยึดติด (13%) ไม่ผูกติดล าเอียงกับความเชื่อเก่า ๆ นิยามเก่า ๆ ปัจจัยที่ท าลายการสร้างสรรค์

1. ขาดแรงจูงใจ (30%) ขาดความท้าทายในการท างาน มีทัศนะคติในแง่ลบ ต่องาน เกียจคร้าน

2. ไม่ช านาญ (24%) ขาดความสามารถหรือไม่ประสบความส าเร็จ ในการท างาน

36 3. ไม่ยืดหยุ่น (22%) การตั้งอยู่ในวิถีของตนเองไม่ชอบท าอะไรต่างจากคนอื่น จ ากัดด้วยการศึกษาหรือการฝึกอบรม

4. มีแรงจูงใจภายนอก (14%) อาจมีสาเหตุจากรายได้ หรือสาเหตุอื่น ๆ ท างานนอกเหนือจากที่ท าในองค์กร ข้อจ ากัดและเป้าหมายที่ตั้งไว้ การแข่งขันกับผู้อื่น ความอิจฉาต่อ ความส าเร็จของผู้อื่น

5. ขาดทักษะทางสังคม หรือการเมืองไม่เพียงพอ (7%) ขาดทักษะ ในการท างานเป็นทีม

ดนชนก เบื่อน้อย (2559) อธิบายว่า การวัดการสร้างสรรค์ สามารถท าได้

โดยการวัดดัชนีเทคโนโลยี (Technology Index) และดัชนีความสามารถพิเศษ (Talent Index) เรียกรวมกันว่า “ดัชนีความคิดสร้างสรรค์แบบยุโรป” (Euro Creativity Index)

ดัชนีความสามารถพิเศษ (Technology Index) วัดจากปัจจัย 2 ปัจจัย ได้แก่

จ านวนผู้ถือปริญญาบัตร (Degree) และจ านวนนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์และวิศวกร ของประเทศหรือ องค์การ

ดัชนีเทคโนโลยี (Technology Index) วัดจากจ านวนสิทธิบัตรในประเทศ และค่าใช้จ่ายในการวิจัยพัฒนาคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของรายได้ประชาชาติ (GDP)

6. แนวทางการเสริมสร้างการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

การสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่เป็นความสามารถเฉพาะบุคคลซึ่งสามารถฝึกฝนและ พัฒนาได้ด้วยเทคนิควิธีการต่าง ๆ ส าหรับแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการสร้างสรรค์และ นวัตกรรมนั้นมีนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาอาชีพได้น าเสนอแนวทางไว้อย่างน่าสนใจ ดังนี้

วนิช สุธารัตน์ (2547) ได้สรุปเทคนิควิธีการที่ช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

ส าหรับผู้เรียนไว้ 9 วิธี อาทิ

1. การระดมสมองเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สูงขึ้นได้ โดยมี

หลักการ คือ เน้นการร่วมความคิดในเชิงปริมาณและขณะการระดมสมองห้ามการวิพากษ์ใด ๆ ทั้งสิ้น เพื่อป้องกันไม่ให้การคิดหยุดชะงัก

2. Gordon Technique เป็นวิธีการที่พัฒนามาจากวิธีระดมสมอง โดยวิธีนี้

จะไม่เน้นการระบุปัญหาที่ชัดเจน แต่จะใช้การเปรียบเทียบกว้างกว้างและเมื่อระดมสมองเรียบร้อย แล้วจึงก าหนดกรอบค าถามให้แคบลง

3. Synectic Technique เป็นวิธีการที่อาศัยการเพิ่มกลไกทางจิตมา วิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นธรรมชาติ คือ การท าปัญหาที่แปลกให้คุ้นเคย หรือการท าปัญหาที่คุณเคย ให้แปลก เป็นต้น

37 4. วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์และองค์ประกอบ (Morphological Analysis) เป็นวิธีการคิดแก้ปัญหาหลายแบบ จากหลายตัวแปรภายใต้การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ส่วนเข้าด้วยกัน

5. วิธีการ CNB Method เป็นวิธีการเขียนปัญหาและวิธีการที่จะแก้ไขสิ่งที่

เป็นไปได้ลงในสมุดบันทึกที่พกติดตัวตลอดเวลา

6. วิธีการ CBB Method เป็นวิธีที่ผสมผสานระหว่างการระดมสมองจาก วิธีการ CNB โดยมีหลักการคือ การน าวิธีการแก้ปัญหาของแต่ละคนมารวมกัน แล้วน ามาติดบน แผ่นป้าย เพื่อให้ทุกคนสามารถมองเห็นความคิดของกันและกัน โดยมีการจ ากัดเวลาที่เหมาะสมต่อ การเกิดความคิดสร้างสรรค์

7. การเขียนแผนที่ความคิด (Mind Mapping) เป็นวิธีการน าข้อมูลมา จัดระบบใหม่เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นโดยการสร้างเป็นแผนภูมิรูปภาพ

8. วิธีการ AIC (Appreciation, Influence and Control) เป็นวิธีการระบบ กลุ่มที่ใช้ส าหรับการบริหารจัดการงานองค์กรที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น

9. ยุทธวิธีหรือกระบวนการลงมือกระท า เป็นกระบวนการที่ช่วยให้บุคคล สามารถแก้ปัญหาในทางสร้างสรรค์โดยมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ การค้นหาความหมายของปัญหา การเปิดใจกว้าง เพื่อหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การหาวิธีแก้ไขที่ดีที่สุด และ การน าวิธีการแก้ไขปัญหาไปสู่การปฏิบัติจริง

สุวิทย์ มูลค า (2547) ได้รวบรวมเทคนิคการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้ผลดีต่อ การพัฒนาการสร้างสรรค์ โดยเสนอวิธีฝึกความคิดสร้างสรรค์ไว้ 15 วิธี ได้แก่ การฝึกคิดมองต่างมุม การฝึกคิดจินตนาการ การฝึกคิดเปรียบเทียบเพื่อสร้างความคิดใหม่ การฝึกคิดบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อน ไปจากความจริง การฝึกคิดโดยใช้ค าถามและกระตุ้นให้ตอบ การฝึกคิดเปลี่ยนแปลงความเชื่อ การฝึกจิตประเมินสถานการณ์ การฝึกคิดจากการพูดฟังอ่านและเขียนแล้วน ามาคิดเป็นเรื่องใหม่

การฝึกคิดในมุมมองหลายหลายมิติ การฝึกคิดดัดแปลง การฝึกคิดไม่ยึดติดกับสิ่งที่เคยชิน การฝึกคิด ท าของเก่าให้เป็นของใหม่ การฝึกจิตจับคู่ตรงข้ามเพื่อหักมุมไปสู่สิ่งใหม่ การฝึกจิตทางลัด การฝึกคิด เพื่อเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2556) ได้รวบรวมและสรุปเทคนิคการสร้างสรรค์ที่

นิยมใช้กันทั่วโลกไว้ ได้แก่ การระดมสมองกันท าของเก่าให้เป็นของใหม่ โดยใช้แผ่นตรวจสอบ Osborn's Checklist การคิดจากการขยายขอบเขตปัญหาจากรูปธรรมสู่นามธรรม การปรับ สภาพแวดล้อมและเวลาให้เหมาะสมส าหรับการคิด การกลับสิ่งที่คิดแล้วเป็นการคิดในมุมใหม่

การจับคู่ตรงข้ามเพื่อหักมุมสู่สิ่งใหม่ การคิดแหวกแนวความน่าจะเป็น การหาสิ่งที่ไม่เชื่อมโยงมาขยาย ความคิด การใช้เทคนิคการสังเคราะห์ส่วนประกอบ (Morphological Analysis) และ

การเปรียบเทียบเพื่อกระตุ้นมุมมองใหม่ ๆ เป็นต้น

Garis besar

Dokumen terkait