• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง

ตัวแปร องค์ประกอบ

น้ าหนัก องค์ประกอบ

(b)

ความคลาด เคลื่อนของ ตัวบ่งชี้ (SE)

t-Value

สปส.

การพยากรณ์

(𝑅2) ปัญญาเชิงสร้างสรรค์ (Cre Cog)

จิตใจเชิงสร้างสรรค์ (Cre Aff) ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (So In) การสร้างนวัตกรรม (Im In)

0.97 0.90 0.92 0.81

0.06 0.04 0.04 0.04

14.92**

22.06**

21.75**

19.38**

0.94 0.81 0.85 0.66 𝑥2= 194.68, p-value = 0.05, df = 165, 𝑥2/df = 1.17, RMSEA = 0.01, GFI = 0.99, AGFI = 0.98

จากตาราง 17 พบว่า ค่าน้ าหนักองค์ประกอบของการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 5 องค์ประกอบ มีค่าอยู่ระหว่าง 0.81 ถึง 0.97 และมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ทุกองค์ประกอบ โดยองค์ประกอบที่มีค่าน้ าหนักสูงสุดอันดับแรกคือ องค์ประกอบ ที่ 1 ปัญญาเชิงสร้างสรรค์ มีค่าน้ าหนัก องค์ประกอบเท่ากับ 0.97 รองลงมาคือ องค์ประกอบที่ 3 ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีค่าน้ าหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.92 และองค์ประกอบที่ 2 จิตใจเชิง สร้างสรรค์ มีค่าน้ าหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.90 และ องค์ประกอบที่มีค่าน้ าหนักองค์ประกอบที่

น้อยที่สุดคือ องค์ประกอบที่ 4 การสร้างนวัตกรรม มีค่าน้ าหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.81 ตามล าดับ ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนระหว่างโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ได้ค่าไค-สแควร์

(Chi-Square) เท่ากับ 194.68 องศาอิสระ (df) เท่ากับ 165 ซึ่ง/df <2.00 เท่ากับ 1.17 ค่าดัชนีวัด ระดับความกลมกลืน GFI = 0 .99 และค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว AGF I = 0.98 ซึ่ง ≥ 0.95 ค่าดัชนีรากที่สองเฉลี่ยของความ คลาดเคลื่อนในการประมาณค่า RMSEA = 0.01 ซึ่ง <0.05 แสดงว่าโมเดลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ของการสร้างสรรค์และ นวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเกณฑ์ดี เนื่องจากมีค่าสถิติวัดความกลมกลืน ผ่านเกณฑ์ดีทุกตัว แสดงว่าโมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างดี

108 การวิจัยระยะที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง การสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ขั้นตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การสร้างและพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรม

1. โครงสร้างของโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผู้วิจัยสร้างและพัฒนาโครงสร้างของโปรแกรมการฝึกอบรมตามค่าน้ าหนักของ แต่ละองค์ประกอบตามผลการวิเคราะห์องค์ประกอบในระยะที่ 1 แสดงค่าน้ าหนักแต่ละองค์ประกอบ ที่แตกต่างกัน องค์ประกอบใดมีค่าน้ าหนักมาก แสดงว่าองค์ประกอบนั้นควรต้องส่งเสริมและ เน้นให้การพัฒนาในองค์ประกอบนั้นให้มาก ผู้วิจัยน าค่าน้ าหนักองค์ประกอบมาจัดเรียงล าดับ ความส าคัญ แล้วท าการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับแต่ละองค์ประกอบ การสร้างสรรค์และ นวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏโครงสร้างของโปรแกรมการฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้าง การสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วย 14 กิจกรรม

มีโครงสร้างในแต่ละองค์ประกอบและชื่อกิจกรรม ปรากฏดังตาราง 18

ตาราง 18 แสดงการวิเคราะห์กิจกรรมตามค่าน้ าหนักองค์ประกอบการสร้างสรรค์และนวัตกรรม องค์ประกอบ

การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

กิจกรรมครั้งที่

(กิจกรรมที่) ตัวบ่งชี้

1) ด้านปัญญาสร้างสรรค์

(Creativity Cognitive)

ค่าน้ าหนักองค์ประกอบจากระยะที่ 1 (Cre Cog = 0.97)

ครั้งที่ 2 (กิจกรรมที่ 1) a1/a2/a3/a4 ครั้งที่ 3 (กิจกรรมที่ 2) a2/a3/a5 ครั้งที่ 9 (กิจกรรมที่ 8) a1/a2/a3/a4 ครั้งที่ 10 (กิจกรรมที่ 9) a2/a3/a5 2) ด้านจิตใจเชิงสร้างสรรค์

(Creativity Affective)

ค่าน้ าหนักองค์ประกอบจากระยะที่ 1 (Cre Aff = 0.90)

ครั้งที่ 4 (กิจกรรมที่ 3) b9/b11/b12

ครั้งที่ 5 (กิจกรรมที่ 4) b8/b10/b11/b12/b13 ครั้งที่ 11 (กิจกรรมที่ 10) b6/b7

ครั้งที่ 12 (กิจกรรมที่ 11) b8/b10/b11/b12/b13

109 ตาราง 18 (ต่อ)

องค์ประกอบ การสร้างสรรค์และนวัตกรรม

กิจกรรมครั้งที่

(กิจกรรมที่) ตัวบ่งชี้

3) ด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social Interaction)

ค่าน้ าหนักองค์ประกอบจากระยะที่ 1 (So In = 0.92)

ครั้งที่ 6 (กิจกรรมที่ 5) c14/c15/c16

ครั้งที่ 7 (กิจกรรมที่ 6) c14/c15/c16/c17/c18/c19/

c20

ครั้งที่ 13 (กิจกรรมที่ 12) c14/c15/c16

ครั้งที่ 14 (กิจกรรมที่ 13) c14/c15/c16/c17/c18/c19 /c20

4) ด้านการสร้างนวัตกรรม (Implement Innovations)

ค่าน้ าหนักองค์ประกอบจากระยะที่ 1 (Im In = 0.81)

ครั้งที่ 8 (กิจกรรมที่ 7) d21/d22/d23/d24 ครั้งที่ 15 (กิจกรรมที่ 14) d21/d22/d23/d24

ผู้วิจัยเลือกใช้ทฤษฎีทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนากิจกรรมในโปรแกรมเพื่อเสริมสร้าง การสร้างสรรค์และนวัตกรรม ดังนี้

110 ตาราง 19 แสดงการวิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการพัฒนากิจกรรมในโปรแกรมฝึกอบรม

องค์ประกอบ การสร้างสรรค์และ

นวัตกรรม

กิจกรรมครั้งที่

(กิจกรรมที่) ลักษณะของกิจกรรม

ชื่อแนวคิด/นักทฤษฎี

ที่ใช้พัฒนากิจกรรมใน โปรแกรม 1) ด้านปัญญา

สร้างสรรค์

(Creativity Cognitive) ค่าน้ าหนักองค์ประกอบ จากระยะที่ 1

(Cre Cog = 0.97)

ครั้งที่ 2 (กิจกรรมที่ 1)

ให้สถานการณ์ปัญหา ในชีวิตประจ าวัน และให้

นักศึกษาออกแบบ ปรับปรุงสิ่งของ หรือ คิด ขึ้นใหม่ เพื่อใช้แก้ปัญหา จากสถานการณ์ที่

ก าหนดให้นั้น โดยใช้

ความรู้และประสบการณ์

พื้นฐานเดิมในการ ออกแบบ

1. Cognitive Constructivism 1) การดูดซึมเข้าสู่

โครงสร้างทางปัญญา และ 2) การปรับโครงสร้างทาง ปัญญา โดยการเชื่อมโยง ระหว่างความรู้เดิมและสิ่ง ที่ต้องเรียนใหม่

2. Problem–Based Learning 1) ยกตัวอย่าง สถานการณ์ปัญหา 2) ระบุความรู้

ประสบการณ์เดิมที่จ าเป็น 3) เรียนรู้และน าไปใช้

แก้ปัญหาในอนาคต ครั้งที่ 3

(กิจกรรมที่ 2)

ครั้งที่ 9 (กิจกรรมที่ 8)

ครั้งที่ 10 (กิจกรรมที่ 9) 2) ด้านจิตใจเชิง

สร้างสรรค์

(Creativity Affective) ค่าน้ าหนักองค์ประกอบ จากระยะที่ 1

(Cre Aff = 0.90)

ครั้งที่ 4 (กิจกรรมที่ 3)

ให้นักศึกษาเผชิญ สถานการณ์จ าลองที่มีภาวะ ความไม่แน่นอน ความท้า ทาย การจัดการกับ ความรู้สึกในอดีตเกี่ยวกับ เหตุการณ์ที่เคยล้มเหลว เพื่อฝึกการรับรู้อารมณ์ และ ความตระหนักรู้ในตนเอง สามารถพัฒนาความอยากรู้

อยากเห็น และวางแผนการ เรียนรู้ด้วยตนเอง

1. Metacognition 1) ความรู้ในการรู้คิด 2) ประสบการณ์ในการรู้

คิด (John Flavell) 2. self-directed learning เป็นการเรียนที่

เกิดจากความอยากรู้อยาก เห็น ผู้เรียนจะมีการ วางแผนด้วยตนเอง ครั้งที่ 5

(กิจกรรมที่ 4) ครั้งที่ 11 (กิจกรรมที่ 10) ครั้งที่ 12 (กิจกรรมที่ 11)

111 ตาราง 19 (ต่อ)

องค์ประกอบ การสร้างสรรค์และ

นวัตกรรม

กิจกรรมครั้งที่

(กิจกรรมที่) ลักษณะของกิจกรรม

ชื่อแนวคิด/นักทฤษฎี

ที่ใช้พัฒนากิจกรรมใน โปรแกรม 3) ด้านปฏิสัมพันธ์ทาง

สังคม

(Social Interaction) ค่าน้ าหนักองค์ประกอบ จากระยะที่ 1

(So In = 0.92)

ครั้งที่ 6 (กิจกรรมที่ 5)

ให้สถานการณ์ปัญหา หรือกิจกรรมเพื่อให้

นักศึกษาได้ฝึกการท างาน ร่วมกับผู้อื่น ซึ่งต้องแสดง ถึงการช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน การยอมรับ

ความสามารถของผู้อื่น ความเสมอภาคของทุกคน และการมีปฏิสัมพันธ์และ การสื่อสารกับผู้อื่น

1. Social Constructivism ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ปัญญา การเรียนรู้เป็น กระบวนการปฏิบัติ

(Active Process) ที่

เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล 2. Cooperative Learning การช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน การยอมรับ ความสามารถของผู้อื่น ความเสมอภาคของทุกคน และการมีปฏิสัมพันธ์และ การสื่อสารกับผู้อื่น ครั้งที่ 7

(กิจกรรมที่ 6)

ครั้งที่ 13 (กิจกรรมที่ 12)

ครั้งที่ 14 (กิจกรรมที่ 13) 4) ด้านการสร้าง

นวัตกรรม (Implement Innovations) ค่าน้ าหนักองค์ประกอบ จากระยะที่ 1

(Im In = 0.81)

ครั้งที่ 8 (กิจกรรมที่ 7)

ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติ

สร้างชิ้นงาน เพื่อ แก้ปัญหาจากสถานการณ์

ร่วมกับผู้อื่น

1. Constructionism การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ความรู้จากการลงมือ ปฏิบัติสร้างชิ้นงาน สร้างนวัตกรรม 2. Cooperative Learning การช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน การยอมรับ ความสามารถของผู้อื่น ความเสมอภาคของทุกคน และการมีปฏิสัมพันธ์และ การสื่อสารกับผู้อื่น ครั้งที่ 15

(กิจกรรมที่ 14)

112 2. ผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง

การสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผู้วิจัยได้น าโครงร่างโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และ นวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมอบให้กับผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน เป็นผู้ประเมิน ความเหมาะสมของโปรแกรมการฝึกอบรมโดยผู้วิจัยน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล จ านวน 14 กิจกรรม ได้ผลการวิเคราะห์ ปรากฏดังตาราง 20

ตาราง 20 ผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างการสร้างสรรค์และ นวัตกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

ชื่อกิจกรรม ระดับความเหมาะสม

S.D. แปลผล

1. ใช้ความคิดบรรจง เพื่อเสริมส่งให้แปลกไป 4.56 0.59 มากที่สุด

2. ปรับปรุงสิ่งเดิมมา ให้อนาคตสดใส 4.53 0.63 มากทีสุด

3. สื่อสารเพื่อนเข้าใจ ให้รู้ในความคิดตน 4.53 0.63 มากที่สุด 4. กล้าเสนอสิ่งแปลกใหม่ พร้อมเปิดใจฟังเหตุผล 4.51 0.59 มากที่สุด

5. กล้าเสี่ยงท้าทายตน แม้ว่าผลอาจไม่ดี 4.47 0.63 มาก

6. ฝึกมองความผิดหวัง เป็นพลังไม่หันหนี 4.47 0.63 มาก

7. ลงมือสร้างสรรค์ดี ปัญหานี้จะคลี่คลาย 4.53 0.59 มากที่สุด 8. คิดสิ่งที่แตกต่าง ไม่ตามอย่างคนทั้งหลาย 4.57 0.59 มากที่สุด 9. คิดต่างอย่างมากมาย ประโยชน์หลายดีกว่าเดิม 4.47 0.63 มากที่สุด 10. สื่อสารเพื่อนร่วมงาน รู้ประสาน พูดเติมเสริม 4.47 0.63 มาก 11. ยอมรับความคิดเพิ่ม ตกแต่งเติมให้แปลกไป 4.51 0.63 มากที่สุด 12. อยากรู้อยากทดลอง อยากมีของที่แปลกใหม่ 4.56 0.59 มากที่สุด 13. ล้มเหลวไม่เป็นไร ยอมรับได้ว่าไม่เคย 4.56 0.55 มากที่สุด 14. วางแผนลงมือท า สร้างนวัตกรรมไม่วางเฉย 4.47 0.59 มาก

จากตาราง 20 พบว่า โปรแกรมฝึกอบรมดังกล่าวมีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของโปรแกรม อยู่ระหว่าง 4.47 – 4.56 มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และมาก โดยกิจกรรมที่มีความเหมาะสม มากที่สุดคือ กิจกรรมที่ 1 ใช้ความคิดบรรจง เพื่อเสริมส่งให้แปลกไป และกิจกรรมที่ 12 อยากรู้

113 อยากทดลองอยากมีของที่แปลกใหม่ และมีผลจากการวิเคราะห์เนื้อหาจากการบันทึกพบว่า

ข้อควรปรับปรุงในเรื่องของความชัดเจนของค าชี้แจง และความชัดเจนของกิจกรรม โดยส่วนใหญ่แล้ว เป็นเรื่องของการอธิบายให้เห็นถึงความส าคัญจ าเป็นในกิจกรรมแต่ละขั้น การใช้ค าถามเพื่อกระตุ้นให้

เกิดความคิดความเข้าใจ และยังมีข้อค้นพบเพิ่มเติม คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นสามารถพัฒนา องค์ประกอบการสร้างสรรค์และนวัตกรรมได้ตรงวัตถุประสงค์ ผลการทดสอบก่อนและหลัง พบว่า องค์ประกอบทั้ง 4 ด้านสูงขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่ มีการพัฒนาในทางที่ดีขึ้น อุปสรรคส่วนใหญ่

ของกิจกรรมที่จะท าให้กิจกรรมไม่ส าเร็จตามเป้าหมายคือ การที่นักศึกษาขาดหายไประหว่างท า กิจกรรม

ขั้นตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์การทดลองจัดโปรแกรมการฝึกอบรม

ผู้วิจัยได้น าโปรแกรมการฝึกอบรมที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญมาด าเนินการ ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด แล้วขอให้อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์พิจารณาตรวจสอบอีกครั้ง ก่อนที่จะด าเนินการน าไปทดลองใช้ (Try out) แบบออนไลน์

(เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคระบาดในประเทศไทย) กับนักศึกษา 3 กลุ่มที่ไม่เคยเรียนเนื้อหานี้มา ก่อน คือ 1) แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Testing) ทดลองกับนักศึกษาแบบเจาะจง จ านวน 3 คน โดยเลือกผู้เรียนที่มีการสร้างสรรค์และนวัตกรรมระดับต่ า ปานกลางและสูง ระดับละ 1 คน 2) แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Testing) ทดลองกับนักศึกษาแบบเจาะจง จ านวน 9 คน

ได้จากการเลือกแบบเจาะจง โดยเลือกผู้เรียนที่มีการสร้างสรรค์และนวัตกรรมในระดับ ต่ า ปานกลาง และสูง ระดับละ 3 คน จากนั้น 3) ด าเนินการน าไปทดลองใช้กับนักศึกษากลุ่มที่ไม่ใช่ตัวอย่าง เป็นนักศึกษา สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

จ านวน 27 คน ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2/ 2564 โดยผู้วิจัยได้ด าเนินการทดลองใช้โปรแกรม สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง 30 นาที ในวันจันทร์และวันพุธ และศุกร์ เวลา 16.00 ถึง 17.30 น. ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม ถึง 8 พฤศจิกายน 2564 รวมทั้งสิ้น 16 ครั้ง ในแต่ละครั้งหลังจาก ท ากิจกรรมผู้วิจัยได้บันทึกข้อบกพร่องและสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในเนื้อหารายละเอียดของ

แต่ละกิจกรรมในโปรแกรมเพื่อปรับให้เนื้อหากิจกรรมและขั้นตอนเข้ากับนักศึกษา และระยะเวลาของ การด าเนินกิจกรรมมากที่สุด จึงขอน าเสนอผลการทดลองจัดกิจกรรมโปรแกรมการฝึกอบรม

เพื่อ เสริมสร้างการสร้างสรรค์และนวัตกรรมส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยเสนอผลของ การปรับปรุงโปรแกรมในเฉพาะที่เป็นประเด็นปัญหาที่พบและการปรับปรุงแก้ไข เช่น นักศึกษา ไม่ชอบเปิดกล้อง นักศึกษาเกิดความกังวลเรื่องจ านวนครั้งที่กลัวเข้าได้ไม่ครบตามเวลาที่ก าหนด นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่กล้าที่จะถาม นักศึกษาสะท้อนคิดไม่ตรงประเด็น นักศึกษายังติดกรอบ แนวคิดเดิม นักศึกษาไม่สามารถปฏิบัติในการสร้างชิ้นงานได้จริง เป็นต้น

Garis besar

Dokumen terkait