• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

การทดลอง 3 ขั้นตอน ดังนี้

1. ขั้นตอนการสร้าง

1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตร สถานศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้

รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือและทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์และคู่มือการใช้

โปรแกรม GSP

1.2 วิเคราะห์เนื้อหาและก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต โดยเรียงเนื้อหาจากง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยากตามล าดับ

ตำรำงที่ 3.1 กำรวิเครำะห์เนื้อหำ เพื่อชุดกิจกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์โดยใช้รูปแบบ กำรเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่องกำรแปลงทำงเรขำคณิตชั้น

มัธยมศึกษำปีที่ 2 จ ำนวนทั้งหมด 5 เล่ม ดังตำรำงต่อไปนี้

เล่ม ที่

เรื่อง รูปแบบกำร

เรียนรู้

แบบร่วมมือ

ทักษะกำร ร่วมมือ

ทักษะควำมคิด สร้ำงสรรค์

เวลำ ที่ใช้

1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการแปลงทาง เรขาคณิต

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ STAD และ Think Pare Share

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-แบบจับคู่

-แบบฝึกทักษะที่ 1 1

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ โปรแกรม GSP

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ STAD

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-แบบฝึกทักษะที่ 2 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ

โปรแกรม GSP

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ STAD

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-แบบฝึกทักษะที่ 3 1

2 การเลื่อนขนาน เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-แบบจับคู่

-แบบฝึกทักษะที่ 1 -แบบฝึกทักษะที่ 2

1

พิกัดของรูปเรขาคณิต ที่เกิดจากการเลื่อน ขนานบนระนาบเกิด จากการเลื่อนขนานรูป ต้นแบบ

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ LT และ TAI

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-แบบฝึกทักษะที่ 3 1

ตำรำงที่ 3.1 (ต่อ)

เล่ม ที่

เรื่อง รูปแบบกำร

เรียนรู้

แบบร่วมมือ

ทักษะกำร ร่วมมือ

ทักษะควำมคิด สร้ำงสรรค์

เวลำ ที่ใช้

2 พิกัดของรูปเรขาคณิตที่

เกิดจากการเลื่อนขนาน บนระนาบเกิดจากการ เลื่อนขนานรูปต้นแบบ

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ STAD และ TAI

- แบบกลุ่ม 4 - 5 คน

-แบบฝึกทักษะที่ 4 1

3 การสะท้อน

การสะท้อน

พิกัดของรูปเรขาคณิตที่

เกิดจากภาพสะท้อนบน ระนาบพิกัดฉาก

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI และ Think Pare Share

เทคนิคการสอน แบบ STAD และ Think Pare Share

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI และ Think Pare Share

- แบบกลุ่ม 4 - 5 คน - แบบจับคู่

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน - แบบจับคู่

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน - แบบจับคู่

-แบบฝึกทักษะที่ 1

-แบบฝึกทักษะที่ 2

-แบบฝึกทักษะที่ 3 -แบบฝึกทักษะที่ 4

1

1

1

4 การหมุน

การหมุน

พิกัดของรูปเรขาคณิตที่

เกิดจากการหมุนบน

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI และ Think Pare Share

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI และ Think Pare Share

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

- แบบจับคู่

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน - แบบจับคู่

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-แบบฝึกทักษะที่ 1

-แบบฝึกทักษะที่ 2

-แบบฝึกทักษะที่ 3 1

1

ตำรำงที่ 3.1 (ต่อ)

เล่ม ที่

เรื่อง รูปแบบกำร

เรียนรู้

แบบร่วมมือ

ทักษะกำร ร่วมมือ

ทักษะควำมคิด สร้ำงสรรค์

เวลำที่

ใช้

ระนาบพิกัดฉาก ศิลปะกับการหมุน

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI และ Think Pare Share

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ Jigsaw

- แบบจับคู่

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน - แบบจับคู่

-แบบฝึกทักษะที่ 4 -แบบฝึกทักษะที่ 5

1

1

5 การหมุน การสะท้อน และการเลื่อนขนาน

เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI

- แบบกลุ่ม 4 - 5 คน

-ใบกิจกรรมที่ 1 -ใบกิจกรรมที่ 2

1

เทสเซลเลชัน เทคนิคการ เรียนรู้แบบ TAI

- แบบกลุ่ม 4 – 5 คน

-ใบกิจกรรมที่ 4 -ใบกิจกรรมที่ 5

2

รวม 16

1.3 สร้างชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการแปลงทางเรขาคณิตชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับการใช้โปรแกรม GSP โดยให้

สัมพันธ์กับเนื้อหา และใช้ควบคู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 16 ชั่วโมง ทั้งหมด 5 เล่ม ได้แก่

เล่มที่ 1 เรื่อง พื้นฐานการแปลงทางเรขาคณิตโดยโปรแกรม GSP (แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1-3 จ านวน 3 ชั่วโมง)

เล่มที่ 2 เรื่อง การเลื่อนขนาน (แผนจัดการเรียนรู้ที่ 4-6 จ านวน 3 ชั่วโมง) เล่มที่ 3 เรื่อง การสะท้อน (แผนจัดการเรียนรู้ที่ 7-9 จ านวน 3 ชั่วโมง) เล่มที่ 4 เรื่อง การหมุน (แผนจัดการเรียนรู้ที่ 10-12 จ านวน 3 ชั่วโมง) เล่มที่ 5 เรื่อง การประยุกต์ใช้ (แผนจัดการเรียนรู้ที่ 13-16 จ านวน 4 ชั่วโมง) ซึ่งในแต่ละชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์จะประกอบไปด้วย

(1) ชื่อกิจกรรมจะเป็นชื่อชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

(2) ค าชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

(3) จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้นักเรียนเกิดหลังจากได้ปฏิบัติ

กิจกรรม

(4) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูก าหนด ขึ้น ให้นักเรียนได้ปฏิบัติทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคลหรือแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

(5) ใบความรู้ เป็นสิ่งที่บอกเนื้อหาของบทเรียนที่นักเรียนจะต้องศึกษา (6) ใบกิจกรรมจะระบุขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับนักเรียน ได้ปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง และเพื่อเป็นการทบทวนเนื้อหาบทเรียนเป็นรายบุคคล

(7) ใบตรวจสอบความรู้และทักษะ ให้นักเรียนท าหลังจากท ากิจกรรม และใบกิจกรรมเสร็จสิ้น เพื่อตรวจสอบความรู้ที่นักเรียนได้รับ โดยท าเป็นรายบุคคลไม่สามารถ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ โดยแต่ละชุดกิจกรรมฯ มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ซึ่งผู้วิจัยได้ก าหนด ระดับคุณภาพของชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์และเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนไว้

ดังนี้

ระดับคุณภำพของชุดกิจกรรมฯ คะแนนเฉลี่ย

ดีมาก 9.00 – 10.00

ดี 7.00 - 8.99

พอใช้ 5.00 - 6.99

ควรปรับปรุง 0.00 – 4.99

(8) ใบเฉลยใบกิจกรรมและใบเฉลยใบตรวจสอบความรู้และทักษะ เมื่อนักเรียนท าใบกิจกรรมและแบบฝึกหัดหรือใบตรวจสอบความรู้และทักษะ เสร็จแล้วจะสามารถ ตรวจสอบความถูกต้องจากใบเฉลย

(9) การประเมินผล คือ แบบทดสอบย่อยประจ าชุดกิจกรรมการเรียนรู้ใช้

ประเมินนักเรียนก่อนปฏิบัติกิจกรรมและหลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จสิ้นในแต่ละชุดกิจกรรม

1.4 วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเลือกกิจกรรมที่หลากหลาย และเหมาะสมกับชุดกิจกรรม และฝึกให้ผู้เรียนได้ท างานร่วมกับผู้อื่น

1.5 จัดท าสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระและจุดประสงค์ที่

ต้องการสอน