• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

การทดลอง 3 ขั้นตอน ดังนี้

3. ควำมคิดริเริ่ม

2.2 ขั้นพัฒนา

2.2.1 น าแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบความเหมาะสมของภาษา จากการหา ค่า IOC ถ้าดัชนีที่ค านวณได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่า ข้อความนั้นมีความเหมาะสมของ ภาษา ส่วนข้อที่ดัชนีน้อยกว่า 0.5 น ามาปรับปรุงแก้ไข

2.2.2 น าแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนต่อการเรียนรู้ในวิชา คณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP ที่ปรับปรุง แก้ไขแล้วไป ทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช้กลุ่มตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเชียงดาว วิทยาคม อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน เมื่อพบข้อบกพร่องให้

น ามาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสม ดังนี้ การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (1:1) จ านวน 3 คน ผล การประเมินปรากฏว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนต่อการเรียนรู้ใน วิชาคณิตศาสตร์ทุกด้านอยู่ในระดับดี แสดงว่าแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ต่อการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์สามารถน าไปใช้ได้ จากนั้นทดลองแบบกลุ่มเล็ก (1:3) จ านวน 9 คน ซึ่งผลการประเมินปรากฏว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนต่อการเรียนรู้

ในวิชาคณิตศาสตร์ทุกด้านอยู่ในระดับดี (ภาคผนวก ง)

2.2.3 น าแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่

กับโปรแกรม GSP จากข้อ 2.2.2 ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเชียงดาว วิทยาคม อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

จากชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้รูปแบบการ เรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน เพื่อเก็บรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้ด ำเนินกำรเก็บรวบรวมข้อมูลตำมวัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ดังนี้

1. ปฐมนิเทศนักเรียนก่อนที่จะด าเนินการสอน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจใน การเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ให้เข้าใจถึงบทบาทของนักเรียนจะได้ปฏิบัติ

ตนได้ถูกต้อง

2. น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต แบบปรนัย จ านวน 30 ข้อ และแบบอัตนัย จ านวน 2 ข้อ ไปทดลองใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลไว้

3. ด าเนินการทดลองใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบการ เรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 5 เล่ม ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น โดยใช้เวลาสอน 18 ชั่วโมง

4. เก็บรวบรวมข้อมูลทุกชุดกิจกรรมฯ ประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และ ประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนต่อการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนชุด กิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP จากนั้นน าผลที่ได้มาวิเคราะห์ และสรุปบันทึกข้อมูล ข้อบกพร่องที่ควรปรับปรุงแก้ไข เพื่อน าไปใช้

ในครั้งต่อไป

5. หลังจากด าเนินการทดลองสอนชุดกิจกรรมการจัดการเรียนคณิตศาสตร์ฯ ครบทั้งหมด 5 เล่มแล้ว ให้นักเรียนท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ฉบับเดียวกับก่อนเรียน แล้วเก็บรวบรวมข้อมูล และน าคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์ผล สรุปผลและแปร ผลต่อไป

กำรวิเครำะห์ข้อมูล

1. ข้อมูลเชิงปริมาณ ด าเนินการ ดังนี้

1.1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้

คณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่องการแปลงทาง

เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการหาค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยระหว่างเรียน (E1) กับค่า ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน (E2) จากสูตร E1/E2 มีประสิทธิภาพสูงกว่าหรือ

เท่ากับเกณฑ์ที่ก าหนด 75/75

1.2 ศึกษาเปรียบเทียบคะแนนผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ด้านความเข้าใจด้าน การน าไปใช้และการวิเคราะห์ จากที่ได้รับการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของนักเรียนก่อนและหลังเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.) ใช้สัมประสิทธิ์แห่งความแปรผัน (C.V.) และใช้สถิติ T-test แบบ Pair-test และผลการ ประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยน าข้อมูลการประเมินหาฐานนิยม และค่าร้อยละ แล้วสรุปผล

1.3 วิเคราะห์แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนต่อการเรียนรู้ใน วิชาคณิตศาสตร์ จากการใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ ร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้แก่ ด้านคิด คล่องแคล่ว ด้านคิดละเอียดลออ ด้านคิดริเริ่ม เมื่อทดสอบสัดส่วนโดยใช้สถิติ Z-test โดยน าข้อมูล การประเมินหาฐานนิยมและค่าร้อยละ แล้วสรุปผล

2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้จาก ผลการตรวจชิ้นงาน ใบงาน การประเมินการท ากิจกรรม และแบบบันทึกผลหลังการสอน โดยน าข้อมูลมาวิเคราะห์และ อภิปรายผล เพื่อสะท้อนให้เห็นถึง สภาพ ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินการวิจัย และแนวทางแก้ไข พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้มี

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล 1. สถิติพื้นฐาน ดังนี้

1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 26) โดยใช้สูตร ดังนี้

ร้อยละ = r ×100 n

เมื่อ r แทน จ านวนข้อมูลที่สนใจ n แทน จ านวนตัวอย่างทั้งหมด

1.2 หาค่าเฉลี่ย (Mean) (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 28) โดยใช้สูตร ดังนี้

X X n

เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ย

X แทน ผลรวมของคะแนนทุกคนในกลุ่มตัวอย่าง n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

1.3 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 53) โดยใช้สูตร ดังนี้

x X

S.D. n(n )

 

2

1

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ค่าเฉลี่ย

X แทน คะแนนแต่ละตัว n แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด

2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

2.1 สถิติที่ใช้ในการคุณภาพเครื่องมือ

1) การหาความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน โดยใช้สูตรดัชนีค่าความสอดคล้อง IOC (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 206)

IOC R N

เมื่อ IOC คือ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับกับวัตถุประสงค์

R คือ ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N คือ จ านวนผู้เชี่ยวชาญ

2) การหาความยากง่าย (Difficulty) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตร (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 227)

P R

 N

เมื่อ P คือ ดัชนีความยากง่าย R คือ จ านวนผู้ที่ท าข้อสอบถูก N คือ จ านวนผู้ที่ท าข้อสอบทั้งหมด

3) การหาอ านาจจ าแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน โดยใช้สูตร (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, 223)

U L

B n n

1 2

เมื่อ B คือ ค่าดัชนีอ านาจจ าแนกของข้อสอบ

U คือ จ านวนผู้ที่ตอบถูกในแบบทดสอบในข้อนั้นในกลุ่มผู้ผ่านเกณฑ์

L คือ จ านวนผู้ที่ตอบถูกในแบบทดสอบในข้อนั้นในกลุ่มผู้ไม่ผ่านเกณฑ์

n1 คือ จ านวนผู้ผ่านเกณฑ์

n2 คือ จ านวนผู้ไม่ผ่านเกณฑ์

4) การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน แบบปรนัย โดยใช้วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน สูตร KR.20 (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, 214)

KR.20 ,

k i i q tt

k p q

r k S

 

  

  

   

1

1 2

1

เมื่อ rtt คือ ความเที่ยงตรงของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล

k คือ จ านวนข้อในเครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่น ามาค านวณ S2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนรวมในแต่ละคน p คือ สัดส่วนคนท าถูกในแต่ละข้อ

q คือ สัดส่วนคนท าผิดในแต่ละข้อ (q = p-1) X คือ คะแนนเฉลี่ยของคะแนนทั้งฉบับ

5) การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน แบบอัตนัย โดยใช้วิธีของฮอยท์ (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 219)

tt E

P

r MS

 1 MS

เมื่อ rtt คือ ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ

MSE คือ คะแนนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน (Error) MSP คือ คะแนนความแปรปรวนระหว่างผู้ตอบ (Between People)

2.2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลการจาก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดย ใช้สถิติ ดังนี้

1) หาค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนและหลังเรียน โดยใช้สูตร

เมื่อ x คือ คะแนนเฉลี่ย

x คือ ผลรวมคะแนนทั้งหมด n คือ จ านวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง