• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

การทดลอง 3 ขั้นตอน ดังนี้

3. ขั้นน าไปใช้

3.1 น าชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 1 ห้องเรียน ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 1

เครื่องมือที่ใช้ในกำรวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนด้ำนควำมรู้และทักษะกระบวนกำร เรื่องการ แปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ส าหรับทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยแบบทดสอบ ปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ และแบบทดสอบอัตนัย จ านวน 2 ข้อ

1.1 ขั้นสร้าง

1.1.1 ศึกษาเนื้อหา วิธีการ เพื่อสร้างแบบทดสอบและเทคนิคการออก ข้อสอบและวิธีการวิเคราะห์แบบทดสอบ จากหนังสือ ต ารา และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการแบบทดสอบ และวิธีการวิเคราะห์แบบทดสอบ

1.1.2 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต วิเคราะห์

เนื้อหาและตัวชี้วัด

1.1.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้และ

ทักษะกระบวนการ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 50 ข้อ และแบบอัตนัย จ านวน 5 ข้อโดยครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้เนื้อหาวิชา

คณิตศาสตร์ พร้อมทั้งจัดท าเกณฑ์การให้คะแนนเพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์

1.2 ขั้นพัฒนา

1.2.1 น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างขึ้นเสนอต่อ คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ปรับปรุงแก้ไขและน าเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาความครอบคลุมเนื้อหา ความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ และความเหมาะสมกับเวลาที่ใช้ในการทดสอบ โดยการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญชุดเดียวกับที่ประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์

ของชิ้นงานจากการใช้โปรแกรม GSP ให้แต่ละท่านพิจารณาลงความเห็นว่าข้อสอบแต่ละข้อวัดได้

สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระที่ต้องการวัดหรือไม่ โดยน าผลการพิจารณา ของผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่าน มาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เป็นรายข้อและความถูกต้องอื่น ๆ โดยก าหนดคะแนนแต่ละข้อ (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 206) ดังนี้

คะแนน +1 เมื่อ แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้

คะแนน 0 เมื่อ ไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้

คะแนน -1 เมื่อ แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดไม่ตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้

แล้วบันทึกผลการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญในแต่ละข้อ ถ้าดัชนีที่ค านวณได้ มากกว่า หรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่าข้อสอบข้อนั้นเป็นตัวแทนของจุดประสงค์นั้น ส่วนข้อที่ได้ดัชนี น้อยกว่า 0.5 น ามาปรับปรุงแก้ไข

1.2.2 คัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป เพื่อเตรียมน าไปหาคุณภาพของแบบทดสอบต่อไป โดยน าไปทดสอบกับนักเรียนที่เคยเรียน เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิตมาแล้วต่อไป

1.2.3 น าแบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบ และแก้ไขปรับปรุงแล้วไป ทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเชียงดาววิทยาคม อ าเภอ เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ จ านวน 30 คน ที่เคยเรียนเรื่องการการแปลงทางเรขาคณิต มาแล้ว

1.2.4 ผลการทดสอบมาวิเคราะห์หาความยากง่าย (P) โดยเลือกข้อที่ความ

ยากง่ายระหว่าง 0.2-0.8 ไว้ใช้ และอ านาจจ าแนก (B) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 223 - 227) โดยคัดเลือกข้อสอบ แบบปรนัย จ านวน 30 ข้อ มาท าการทดสอบกับนักเรียนที่เคย

เรียนเรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต จ านวน 30 คน แล้วหาความยากง่าย อ านาจจ าแนก และความ เชื่อมั่นของข้อสอบอีกครั้ง โดยประเมินด้านความรู้ด้านความเข้าใจ จ านวน 23 ข้อ ได้แก่ ข้อ 1-6, 13, และข้อ 15-30 ด้านน าไปใช้ จ านวน 1 ข้อได้แก่ ข้อ 14 และด้านการวิเคราะห์ จ านวน 7 ข้อ ได้แก่ ข้อ 7, 8, 9, 10, 11 และข้อ 12 (โดยใช้หลักอิงเกณฑ์ แบ่งกลุ่มเก่งและอ่อนจาก คะแนนผ่าน 14 คะแนนขึ้นไป) และแบบอัตนัย จ านวน 2 ข้อ โดยประเมินด้านการวิเคราะห์ จ านวน 3 ข้อ ได้แก่ ข้อ 1-3 (โดยใช้หลักอิงเกณฑ์ แบ่งกลุ่มเก่งและอ่อนจาก คะแนนผ่าน 5 คะแนนขึ้นไป) และน าข้อสอบ ปรนัยมาหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR-20 และข้อสอบอัตนัยมาหาค่าความ เชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยใช้สูตรของฮอยท์ (พิชญ์สินี ชมภูค า, 2553, น. 214 - 219) ซึ่งผลการ ประเมินความเชื่อมั่นของแบบทดสอบปรนัย เท่ากับ 0.80 และข้อสอบอัตนัยมาหาค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.7 (ภาคผนวก ง) เมื่อได้ข้อสอบที่มีคุณภาพแล้วเตรียมจัดท าแบบทดสอบฉบับสมบูรณ์

ต่อไป

1.2.5 จัดท าเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนด้านความรู้ เรื่อง การ แปลงทางเรขาคณิต ฉบับสมบูรณ์

1.2.6 น าแบบแบบทดสอบข้อสอบควบคู่ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านการ ประเมินและตรวจสอบแล้วไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียนเชียงดาววิทยาคม อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (1:1) จ านวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของภาษา ขนาดตัวอักษรและความเหมาะสมด้านเวลา แล้วน า ข้อบกพร่องมาปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม จากนั้นทดลองแบบกลุ่มเล็ก (1:3) จ านวน 9 คน เพื่อ ตรวจสอบความเหมาะสมด้านเวลาและน าคะแนนหลังเรียนไปใช้ในการหาประสิทธิภาพผลลัพท์

(ภาคผนวก ง)

1.3 ขั้นน าไปใช้

1.3.1 น าข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ เรื่อง การแปลง ทางเรขาคณิต ฉบับสมบูรณ์ไปทดสอบกับนักเรียนแบบกลุ่มเล็ก (1:3) และกลุ่มตัวอย่างเพื่อน า ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ต่อไป

แบบประเมินทักษะกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์

การประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรม การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพื่อใช้ในการประเมินข้อสอบอัตนัย ใบตรวจสอบ ความรู้และทักษะ ใบกิจกรรมและชิ้นงาน มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้

2.1 ขั้นสร้าง

2.1.1 ศึกษาแนวคิด หลักการเอกสารที่เกี่ยวข้องกับทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์

2.1.2 ด าเนินการสร้างแบบการประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ให้สอดคล้องกับแนวคิด หลักการเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาจากทักษะการแก้ปัญหา ทักษะ

การให้เหตุผล ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย น าเสนอ และทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์

ที่จ าเป็นของนักเรียน พร้อมกับสร้างเกณฑ์การประเมินดังนี้

ตำรำงที่ 3.2 เกณฑ์กำรประเมินทักษะกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์

1.ด้ำนกำรแก้ปัญหำ

ระดับคุณภำพ เกณฑ์กำรพิจำรณำ

3 (ดีมาก)

มีใช้ยุทธวิธีการด าเนินการแก้ปัญหาส าเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพ อธิบาย ถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดังกล่าวได้เข้าใจชัดเจน

2 (ดี)

ใช้ยุทธวิธีการด าเนินการแก้ปัญหาส าเร็จ แต่น่าจะอธิบายถึงเหตุผลใน การใช้วิธีการดังกล่าวได้ดีกว่านี้

1 (พอใช้)

ใช้ยุทธวิธีการด าเนินการแก้ปัญหา ส าเร็จเพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตุผล ในการใช้วิธีการดังกล่าวได้บางส่วน

2.ด้ำนให้เหตุผลประกอบกำรตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่ำงเหมำะสม

ระดับคุณภำพ เกณฑ์กำรพิจำรณำ

3 (ดีมาก)

มีการอ้างอิงที่ถูกต้อง และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่าง สมเหตุสมผล

2 (ดี)

มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ แต่อาจไม่สมเหตุสมผลในบางกรณี

1

(พอใช้) มีการเสนอแนวคิดที่ไม่สมเหตุสมผลในการตัดสินใจและไม่ระบุอ้างอิง 3. ด้ำนกำรสื่อสำรสื่อควำมหมำย และน ำเสนอได้อย่ำงถูกต้อง

ระดับคุณภำพ เกณฑ์กำรพิจำรณำ

3 (ดีมาก)

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง แสดงข้อมูลประกอบ ตามล าดับขั้นตอนชัดเจน และมีรายละเอียดสมบูรณ์

2 (ดี)

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง แสดงข้อมูลประกอบ ตามล าดับ ขั้นตอนได้ชัดเจนบางส่วน และรายละเอียดยังไม่สมบูรณ์

1 (พอใช้)

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์อย่างง่าย ไม่แสดงข้อมูล ตามล าดับขั้นตอน และการน าเสนอข้อมูลไม่ชัดเจน