• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

การทดลอง 3 ขั้นตอน ดังนี้

4. ด้ำนกำรทักษะกำรเชื่อมโยงควำมรู้

2.ด้ำนให้เหตุผลประกอบกำรตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่ำงเหมำะสม

ระดับคุณภำพ เกณฑ์กำรพิจำรณำ

3 (ดีมาก)

มีการอ้างอิงที่ถูกต้อง และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่าง สมเหตุสมผล

2 (ดี)

มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ แต่อาจไม่สมเหตุสมผลในบางกรณี

1

(พอใช้) มีการเสนอแนวคิดที่ไม่สมเหตุสมผลในการตัดสินใจและไม่ระบุอ้างอิง 3. ด้ำนกำรสื่อสำรสื่อควำมหมำย และน ำเสนอได้อย่ำงถูกต้อง

ระดับคุณภำพ เกณฑ์กำรพิจำรณำ

3 (ดีมาก)

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง แสดงข้อมูลประกอบ ตามล าดับขั้นตอนชัดเจน และมีรายละเอียดสมบูรณ์

2 (ดี)

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง แสดงข้อมูลประกอบ ตามล าดับ ขั้นตอนได้ชัดเจนบางส่วน และรายละเอียดยังไม่สมบูรณ์

1 (พอใช้)

ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์อย่างง่าย ไม่แสดงข้อมูล ตามล าดับขั้นตอน และการน าเสนอข้อมูลไม่ชัดเจน

2.2 ขั้นพัฒนา

2.2.1 น าการประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนและเกณฑ์

การประเมินที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจสอบความ เหมาะสมของเนื้อหา ภาษา และความชัดเจนหัวข้อการประเมิน รวมทั้งเกณฑ์การประเมินหรือ เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละทักษะ เพื่อให้ข้อเสนอแนะ จากนั้นน ามาข้อเสนอแนะที่ได้มา ปรับปรุงแก้ไข

2.2.2 น าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วมา ให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญชุดเดียวกับที่ประเมินชุดกิจกรรม เพื่อพิจารณาความตรง ของเนื้อหาของรายการการประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และความถูกต้องอื่น ๆ โดย ใช้เกณฑ์จากการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยก าหนดคะแนนความเห็นดังนี้

+1 เมื่อ แน่ใจว่า รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินสอดคล้องกับ ประเด็นตามทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ก าหนด

0 เมื่อ ไม่แน่ใจว่า รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินสอดคล้องกับ ประเด็นตามทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ก าหนด

-1 เมื่อ ไม่แน่ใจว่า รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินสอดคล้องกับ ประเด็นตามทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ก าหนด

2.2.3 น าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ผ่านการประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน มาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสม

2.2.4 เมื่อปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

เรียบร้อยแล้ว ก็จัดท าแบบประเมินด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ เพื่อเตรียม น าไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นเดียวกันที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเชียงดาว วิทยาคม อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

2.2.5 น าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปทดลองใช้กับ นักเรียนชั้นเดียวกันที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเชียงดาววิทยาคม อ าเภอเชียง ดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน เมื่อพบข้อบกพร่องให้น ามาปรับปรุงแก้ไขให้

ถูกต้องเหมาะสม ดังนี้ การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (1:1) จ านวน 3 คน ผลการประเมินปรากฏว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทุกด้านอยู่ในระดับดี แสดงว่าแบบประเมิน ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ จึงสามารถน าไปใช้ได้ จากนั้นทดลองแบบกลุ่มเล็ก (1:3) จ านวน 9 คน ซึ่งผลการประเมินปรากฏว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทุกด้านอยู่ในระดับดี (ภาคผนวก ง)

2.3 ขั้นน าไปใช้

2.3.1 น าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเชียงดาววิทยาคม อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้จากชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP โดยมี

ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมิน เพื่อเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

แบบประเมินทักษะควำมคิดสร้ำงสรรค์ของนักเรียนต่อกำรเรียนรู้ในวิชำคณิตศำสตร์

โดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP 2.1 ขั้นสร้าง

2.1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับทักษะความคิดสร้างสรรค์

และแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์

2.1.2 ศึกษาวิธีสร้างเครื่องมือแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ แบบ รูบริคส์ทักษะความคิดสร้างสรรค์

2.1.3 สร้างแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนต่อการเรียนรู้ใน วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP โดยประเมินจาก ชิ้นงานในการใช้โปรแกรม GSP ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ได้ก าหนดให้ประเมินตามแบบรูบริคส์โดย ก าหนดการ ประเมิน 3 ระดับ ดังนี้

ตำรำงที่ 3.3 เกณฑ์กำรประเมินทักษะควำมคิดสร้ำงสรรค์