• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

2. แบบจับคู่

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน 2. แบบจับคู่

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน 2. แบบจับคู่

แบบฝึกทักษะที่ 1 แบบฝึกทักษะที่ 2

แบบฝึกทักษะที่ 3 แบบฝึกทักษะที่ 4

1

1

1

เล่มที่ 4

1 การหมุน เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

2.แบบจับคู่

แบบฝึกทักษะที่ 1 1

2 การหมุน เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

2. แบบจับคู่

แบบฝึกทักษะที่ 2 1

3

4

พิกัดของรูป เรขาคณิตที่เกิด จากการหมุนบ ระนาบพิกัดฉาก ศิลปะกับการ หมุน

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ Jigsaw

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

2. แบบจับคู่

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

แบบฝึกทักษะที่ 3 แบบฝึกทักษะที่ 4

แบบฝึกทักษะที่ 5 1

1

ตารางที่ 4.1 (ต่อ)

กิจกรรม เรื่อง รูปแบบการ เรียนรู้

แบบร่วมมือ

ทักษะการร่วมมือ ทักษะความคิด สร้างสรรค์

เวลาที่

ใช้

เล่มที่ 4

1 การหมุน เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

2. แบบจับคู่

แบบฝึกทักษะที่ 1 1

2 การหมุน เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

2. แบบจับคู่

แบบฝึกทักษะที่ 2 1

3

4

พิกัดของรูป เรขาคณิตที่

เกิดจากการ หมุนบระนาบ พิกัดฉาก ศิลปะกับการ หมุน

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI และ Think Pare Share

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ Jigsaw

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

2. แบบจับคู่

1.แบบกลุ่ม 4-5 คน

แบบฝึกทักษะที่ 3 แบบฝึกทักษะที่ 4

แบบฝึกทักษะที่ 5 1

1 เล่มที่ 5

1 การหมุน การ สะท้อน และ การเลื่อน ขนาน

เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

ใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิจกรรมที่ 2

1

2 เทสเซลเลชัน เทคนิคการเรียนรู้

แบบ TAI

1. แบบกลุ่ม 4-5 คน

ใบกิจกรรมที่ 4 ใบกิจกรรมที่ 5

2

รวม 16

สรุปโดยภาพรวม จากตารางรายละเอียดชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับโปรแกรม GSP ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จะเห็นได้ว่ามีการน าเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือในการจัดการ เรียนรู้ โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบการแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ์ (STAD) จ านวน 5 แผน รูปแบบคิด และคุยกัน (Think Pare Share) จ านวน 8 แผน รูปแบบการเรียนรู้เป็นกลุ่มเพื่อช่วยเพื่อนเป็น รายบุคคล (TAI) จ านวน 10 แผน รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน (LT) จ านวน 1 แผน และรูปแบบ ปริศนาความรู้ (Jigsew) จ านวน 1 แผน และมีชิ้นงานในการประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์

จ านวน 20 ชิ้นงาน รวมจ านวนชั่วโมงทั้งหมด 16 ชั่วโมง โดยในแผนการจัดการเรียนรู้ส่วนใหญ่

จะใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือในรูปแบบการเรียนรู้เป็นกลุ่มเพื่อช่วยเพื่อนเป็นรายบุคคล (TAI) มากที่สุด

1.2 การประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ประเมินทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนรู้และด้านการวัดผลและประเมินผล ซึ่งผลการประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผลการประเมินดังตารางที่

4.2 ดังนี้

ตารางที่ 4.2 ผลการประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือควบคู่กับ โปรแกรม GSP

รายการประเมิน x S D. . ระดับความ

เหมาะสม 1. ด้านเนื้อหา

1.1 เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

1.2 เนื้อหามีความละเอียดครบถ้วนและชัดเจน 1.3 เนื้อหาเป็นไปตามล าดับขั้นตอน

1.4 เนื้อหามีความสอดคล้องกับตัวชี้วัดของหลักสูตร 1.5 เนื้อหาสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1.6 เนื้อหาสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้

โปรแกรม GSP

4.93 4.67 4.73 4.60 4.80 4.67

0.15 0.00 0.28 0.37 0.30 0.24

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด สรุปผลการประเมินความเหมาะสมด้านเนื้อหา 4.73 0.13 มากที่สุด

ตารางที่ 4.2 (ต่อ)

รายการประเมิน x S D. . ระดับความ

เหมาะสม 2. ด้านกิจกรรมการเรียนรู้

2.1 เนื้อหาเรียงล าดับจากง่ายไปยาก 2.2 ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้จริง 2.3 กิจกรรมเร้าความสนใจของผู้เรียน 2.4 ส่งเสริมความรู้ ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และพฤติกรรมที่ก าหนด

2.5 กิจกรรมสอดคล้องกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ ได้แก่

1) แบบร่วมมือกันแข่งขันท ากิจกรรม (TGT) 2) แบบร่วมมือโดยวิธีแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน (STAD)

3) แบบเรียนรู้ร่วมกัน ( Learning Together : LT) 4) คิดเดี่ยว คิดคู่ ร่วมกันคิด (Think Pair Share) 5) แบบร่วมมือโดยวิธีปริศนาความรู้ (Jigsew) 2.6 กิจกรรมสอดคล้องกับการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม GSP

2.7 กิจกรรมสะท้อนทักษะความคิดสร้างสรรค์ แต่ละ ด้าน ได้แก่

1) ความคิดคล่อง 2) ความคิดริเริ่ม 3) ความคิดละเอียดลออ

3.93 4.20 3.93 3.67 3.33

3.67 4.00

0.15 0.30 0.15 0.00 0.00

0.00 0.00

มาก มาก มาก มาก ปานกลาง

มาก มาก

สรุปผลการประเมินความเหมาะสม ด้านกิจกรรมการเรียนรู้

3.82 0.12 มาก

ตารางที่ 4.2 (ต่อ)

รายการประเมิน x S D. . ระดับความ

เหมาะสม 3. ด้านสื่อการเรียนรู้

3.1 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้

3.2 สอดคล้องกับเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้

3.3 ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารเข้าใจง่ายและเหมาะสมกับ วัยของผู้เรียน

3.4 เร้าความสนใจ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้ดี

3.5 มีประโยชน์ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

4.40 5.00 4.33 4.67 4.67

0.15 0.00 0.00 0.00 0.00

มาก มากที่สุด

มาก

มากที่สุด มากที่สุด สรุปผลการประเมินความเหมาะสมด้านสื่อการเรียนรู้ 4.61 0.07 มากที่สุด 4. ด้านการวัดผลและประเมินผล

4.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

4.2 วิธีการวัดผลและประเมินผลสอดคล้องกับ เนื้อหา เรื่อง พื้นฐานการแปลงทางเรขาคณิต 4.3 เครื่องมือวัดผลและประเมินผลสามารถวัด ได้ตรงตามสภาพจริง

4.4 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลมีความเหมาะสม 4.5 เครื่องมือวัดผลและประเมินผลเหมาะสมกับเวลา 4.6 เครื่องมือวัดผลและประเมินผลเหมาะสมกับ

ความสามารถ และวัยของผู้เรียน

4.7 เครื่องมือวัดสามารถประเมินความรู้ได้อย่างชัดเจน 4.8 เครื่องมือวัดสามารถประเมินทักษะ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ได้

4.9 เครื่องมือวัดสามารถประเมินความคิดสร้างสรรค์

ได้แก่

5.00 4.33 4.60 4.53 4.53 4.60 4.53 4.73 4.53

0.00 0.00 0.39 0.16 0.16 0.13 0.16 0.25 0.27

มากที่สุด มาก มากที่สุด

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

ตารางที่ 4.2 (ต่อ)

รายการประเมิน x S D. . ระดับความ

เหมาะสม 1) ความคิดคล่อง

2) ความคิดริเริ่ม