• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความเห็นต่างในยุคของท่านเราะสูล

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 150-158)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.2.3 สาเหตุของความเห็นต่างในอิสลาม

2.2.3.1 ความเห็นต่างในยุคของท่านเราะสูล

ยุคของท่านเราะสูล  หรือยุคที่ท่านเราะสูล  ยังมีชีวิตและท าหน้าที่อบรมและ น าเสนอหลักการอิสลาม ถือเป็นยุคที่นักวิชาการจ านวนมากมีความเห็นว่า บรรดาเศาะฮาบะฮฺของ ท่านอาจจะมีความเห็นต่างในเรื่องหลักการศาสนาบ้าง แต่ไม่ถึงขั้นที่ความเห็นต่างของพวกเขาจะท า ให้เกิดความขัดแย้งในสังคม ดังเห็นได้จากหลายหะดีษที่มีการรายงานเกี่ยวกับแนวทางการจัดการ ความเห็นต่างของบรรดาเศาะฮาบะฮฺ เมื่อมีประเด็นปัญญหาทางด้านศาสนาหรือความเห็น พวกเขาก็

จะน าเรื่องดังกล่าว หรือน าเรื่องราวการปฏิบัติที่แตกต่างกันไปสอบถามท่านเราะสูล  เพื่อให้ท่าน ได้ให้ค าแนะน าที่ถูกต้องเกี่ยวกับประเด็นที่พวกเขาสงสัย ตัวอย่างรายงานจาก อิบนุ อับบาส  ได้

กล่าวถึงความใฝ่รู้ของพวกเขา ว่า

َ م((

َى لصَ للَّاَ لوسرَ باحصأَنمَاًيرخَاوناكَاًموقَ تيأرَا مَ م لسوَ ه يلعَ للَّا

َ لإَاولأسَا

مه عفنيَا معَ لإَ نولأسيَاوناكَاموَ نآرقلاَفيَ نهُّلكَ،َ ضبقَ تّحًَةلأسمَ رشعَ ةثلثَنع ))

64

ความว่า “ฉันไม่เคยเห็นชนกลุ่มใดที่จะดีกว่ากลุ่มเศาะฮาบะฮฺของท่านเราะสูล  ซึ่งพวกเขาได้ให้ความสนใจสอบถาม (ท่านเราะสูล ) นอกจากเกี่ยวกับ 13 ประเด็นปัญหา จนกระทั่งประเด็นทั้งหมดได้ถูกบรรจุไว้ในอัลกุรอาน และพวกเขาก็

ไม่เคยถามสิ่งใด นอกจากสิ่งนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อพวกเขาเอง”

64 หะดีษรายงานโดย Ibn Muflih ใน al-Adāb al-Shar’iyyah: 2/73 สายรายงานอยู่ในระดับหะสัน

ดังกล่าว นักวิชาการหลายท่านต่างก็มีความเห็นว่า ยุคนี้เป็นยุคที่ทุกความเห็นต่าง ได้รับค าปรึกษาและได้รับค าแนะน าจากท่านเราะสูล  สอดคล้องกับความเห็นของ Tāhā Jābir Fāyyād al-‘Ulwāniy (1987: 34) ได้กล่าวว่า ในยุคที่ท่านเราะสูล  ยังมีชีวิต ท่านได้อยู่ร่วมกับ บรรดาเศาะฮาบะฮฺของท่าน และได้ปฏิบัติตนในฐานะเป็นศาสนทูต น าเสนอค าสอนอิสลาม ให้การ แนะน าและให้ค าปรึกษาในเรื่องที่พวกเขามีข้อสงสัยเกี่ยวกับหลักการศาสนา ท าให้พวกเขาได้รับความ ชัดเจนและมีความเข้าใจตรงกัน มีการให้เกียรติและให้ความเคารพต่อความเห็นต่าง หรือแม้แต่ใน พื้นที่ที่ห่างไกลจากเมืองมะดีนะฮฺ ก็จะพบว่า เมื่อบรรดาเศาะฮาบะฮฺมีความเห็นต่างกันในการ อรรถาธิบายหรือการตีความเข้าใจจากตัวบทอัลกุรอานและอัลหะดีษ ซึ่งพวกเขาอาจจะไม่ทราบ รายละเอียดชัดเจน พวกเขาก็จะเดินทางมาหาท่านเราะสูล  ที่เมืองมะดีนะฮฺ เพื่อขอให้ท่านแนะน า และให้ค าอธิบายในเรื่องดังกล่าว

เช่นเดียวกับความเห็นของ ‘Abdullāh bin ‘Abd al-Musin al-Turakiy (2010:

22) กล่าวว่า ในยุคของท่านเราะสูล  ถือเป็นยุคที่ความเห็นต่างระหว่างบรรดาเศาะฮาบะฮฺ ไม่ได้

ส่งผลกระทบใดๆ ต่อความสามัคคีปรองดองกันของพวกเขา เนื่องจากท่านเราะสูล  คือ ที่กลับของ ศาสนา หรือเป็นแหล่งอ้างอิง เป็นผู้ให้ค าปรึกษาและให้ค าแนะน าทางออกในทุกประเด็นปัญหา ระหว่างพวกเขา ยิ่งไปกว่านั้น ท่านเป็นผู้รับวิวรรณ์ (วะห์ยู) ด้วยตนเอง และได้น าเสนอค าสอนอิสลาม ได้อย่างสมบูรณ์ จนกระทั่งถึงวันที่กลับคืนสู่อัลลอฮฺ  เราะสูล  ก็ได้ทิ้งมรดกทางค าสอนและ แบบอย่างอันงดงามให้แก่พวกเขา ทั้งที่ปรากฏในอัลกุรอาน อัลหะดีษ และบรรดาเศาะฮาบะฮฺผู้ท า หน้าที่สานต่อเจตนารมณ์อันดีงาม

และเมื่อพิจารณาถเกี่ยวกับสาเหตุของความเห็นต่างในยุคของท่านเราะสูล  พบว่า สาเหตุความเห็นต่างของพวกเขาเกิดจากความเข้าใจที่แตกต่างกันในเรื่องการตีความค าสั่งหรือ ค าสอนของอัลกุรอานและอัลหะดีษ เช่น ตัวอย่างหะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 4119 ซึ่งผู้วิจัยได้น าเสนอก่อนหน้านี้ เกี่ยวกับความเห็นต่างระหว่างพวกเขาในเรื่องการท าความเข้าใจ ค าสั่งของท่านเราะสูล  ในช่วงเหตุการณ์สงคราม อัลอะห์ซาบ เมื่อท่านได้สั่งให้พวกเขาเดินทางไป หมู่บ้าน บนี กุร็อยเซาะฮฺ และห้ามไม่ให้ผู้ใดท าการละหมาดอัศริ จนกว่าจะถึงหมู่บ้าน บนี กุร็อย เซาะฮฺ ซึ่งบรรดาเศาะฮาบะฮฺที่ได้รับค าสั่งให้เดินทางครั้งนั้น ได้มีความคิดเห็นต่างกันเกี่ยวกับการ ละหมาดอัศริเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรก มีความเข้าใจว่าการสั่งเสียของท่านที่ให้ไปละหมาดอัศริ ณ หมู่บ้าน บนี กุร็อยเซาะฮฺนั้น เป็นการก าชับให้พวกเขารีบเร่งเดินทาง พวกเขาจึงละหมาดอัศริ เมื่อเข้า เวลาอัศริ ถึงแม้ว่าจะอยู่ระหว่างทาง และพวกเขาถือว่าการละหมาดนั้น เป็นการปฏิบัติตามค าสอน ของท่านเราะสูล  ในเรื่องการรีบเร่งละหมาดเมื่อเข้าเวลา เพราะจะมีความประเสริฐอย่างยิ่ง ในขณะที่กลุ่มเศาะฮาบะฮฺซึ่งปฏิบัติละหมาดเมื่อเดินทางถึงหมู่บ้านดังกล่าว ก็อ้างความเห็นว่า การ ปฏิบัติตามค าสั่งนั้น เป็นไปตามค าสั่งของท่านเราะสูล  จึงไม่อนุญาตให้ตีความเข้าใจเป็นอื่น ทั้งนี้

เมื่อทั้งสองกลุ่มได้น าความเห็นและการปฏิบัติที่ต่างกันไปแจ้งให้ท่านเราะสูล  ทราบเรื่องดังกล่าว ปรากฏว่า ท่านเราะสูล  ก็ให้การยอมรับและไม่ได้ต าหนิกลุ่มใด

Tāhā Jābir Fāyyād al-‘Ulwāniy (1987: 35) กล่าวว่า จากเหตุการณ์ข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ตราบใดที่ท่านเราะสูล  ไม่ได้ต าหนิความเข้าใจของเศาะฮาบะฮฺกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เนื่องจากพวกเขามีเหตุผลในกรอบของหลักการศาสนา นักกฎหมายอิสลาม (ฟุเกาะฮาอ์) หรือผู้น า เสนอค าสอนอิสลามทั้งหลาย ก็สมควรที่จะต้องยอมรับและเปิดใจรับฟังความเห็นต่าง เช่นเดียวกับ ความเข้าใจตัวบทค าสอนที่แตกต่างกันระหว่างเศาะฮาบะฮฺในยุคของท่านเราะสูล  ซึ่งพวกเขายังคง ยึดหลักการและเหตุผลในการสนับสนุนความเห็นต่าง จนกระทั่งพวกเขาได้น าเรื่องดังกล่าวแจ้งท่าน เราะสูล  และเช่นเดียวกับตัวอย่างหะดีษจาก อัมร์ บิน อัลอาศ  กล่าวว่า

َفيَ تمل تحا((

َ ك ل ه أَنأَ تل س تغاَ نإَ تق فشأفَ لسلُّسلاَ تاذَ ةوزغَفيَ ةدربَ ةليل

َ لسوَ هيلعَ للَّاَى لصَ ب نللَ ك لذَاور ك ذفَ حبُّصلاَبياحصبأَ تي لصَ ثمَ، تم ميتف

َاَ لاقفَ م

َ لاس تغلاَ نمَني عن مَيذ لبَ ه تبرخأفَ؟ٌَب نجَ تنأوَ ك باحصبأَ تي لصَورم ع

َ نّإَ تل قَو

َ لوسرَ ك حضفَ)َاًمي ح رَ م ك بَ نا كَ للَّاَ ن إَ م ك س ف ـن أَاو ل ـت ق ـتَ ل وَ( لوقيَ للَّاَ ت ع سَ

َ للَّاَ

))اًئيشَ ل ق ـيَلموَ م لسوَ هيلعَ للَّاَى لص

َ

65

ความว่า “มีอยู่คืนหนึ่งในสมรภูมิซาต อัสสะลาสิล เป็นคืนที่มีอากาศเย็นจัด และฉัน ได้ฝันเปียก (มีอสุจิเคลื่อนออกจากอวัยวะเพศระหว่างหลับนอน) ฉันก็มีความรู้สึก กลัวว่า หากฉันอาบน้ าวาญิบ มันจะเป็นอันตรายต่อชีวิต ฉันจึงได้ท าการตะยัมมุม แทนการอาบน้ าวาญิบ ซึ่งภายหลังฉันได้น าละหมาดศุบห์ให้แก่บรรดาเศาะฮาบะฮฺ

พวกเขาจึงน าเรื่องดังกล่าวไปแจ้งท่านเราะสูล  ท่านเราะสูล  กล่าวว่า “โอ้

อัมร์ ท่านได้น าละหมาดให้กับบรรดาเศาะฮาบะฮฺ ขณะที่ท่านเองมีญุนูบ (หะดัษ ใหญ่) ใช่หรือไม่” ฉันจึงกล่าวแก่ท่านเราะสูล  ในสิ่งที่ห้ามไม่ให้ฉันท าการอาบน้ า วาญิบ (และได้ท าตะยัมมุมทดแทน) ฉันกล่าวว่า “ฉันจ าได้ว่าอัลลอฮฺ  ตรัสว่า ว่า

“และจงอย่าฆ่าตัวของพวกเจ้าเอง แท้จริงอัลลอฮฺเป็นผู้ทรงเมตตาต่อพวกเจ้าเสมอ”

(อันนิสาอ์: 29) เมื่อกล่าวเช่นนั้น ท่านเราะสูล  ได้หัวเราะ และไม่ได้กล่าวอะไร”

ผู้วิจัยมีความเห็นว่า ตัวอย่างหะดีษข้างต้น เป็นอีกตัวอย่างเหตุการณ์ในเรื่อง ความเห็นต่างที่เคยเกิดขึ้นในยุคของท่านเราะสูล  และในเหตุการณ์อื่น ๆ ที่แสดงให้เห็นว่า ในช่วง เวลานั้น บรรดาเศาะฮาบะฮฺอาจจะมีความเห็นต่างกันในเรื่องศาสนา แต่พวกเขาก็จะน าเรื่องดังกล่าว ไปให้ท่านเราะสูล  ได้พิจารณาและขอค าปรึกษา ซึ่งท่านเราะสูล  ก็จะรับฟังและให้ค าแนะน า

65 หะดีษบันทึกโดย Abu Dāwud หะดีษหมายเลข 334; Ahmad: 17845 อัลอัลบานีย์ กล่าวว่า เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะห์

แก่พวกเขา จึงท าให้สามารถรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่างพวกเขาไว้ และเช่นเดียวกับหะดีษที่

รายงานโดย Ābu Dāwud หะดีษหมายเลข 338 ซึ่งผู้วิจัยได้น าเสนอก่อนหน้านี้ในบทที่หนึ่ง เกี่ยว กับเศาะฮาบะฮฺ 2 คน ซึ่งออกเดินทางไปด้วยกัน จนกระทั่งเมื่อได้เวลาละหมาด แต่ทั้งสองไม่มีน้ าพอ ส าหรับการเอาน้ าละหมาด จึงได้ท าตะยัมมุม ซึ่งภายหลังเศาะฮาบะฮฺคนหนึ่งได้พบน้ า เขาจึงได้เอาน้ า ละหมาดและได้ท าการละหมาดใหม่ ขณะที่อีกคนหนึ่งไม่ละหมาดใหม่ และเมื่อทั้งสองน าเรื่องดังกล่าว ไปแจ้งท่านเราะสูล  ท่านจึงได้กล่าวแก่คนที่ไม่ละหมาดใหม่ว่า การกระท าของเขานั้นเป็นไปตาม แบบฉบับแล้ว และจะได้รับผลบุญจากการละหมาดนั้น และกล่าวแก่คนที่เอาน้ าละหมาดและท า ละหมาดใหม่ว่า การกระท าของเขา ได้ท าให้เขาได้รับผลบุญถึงสองครั้ง

Tāhā Jābir Fāyyād al-‘Ulwāniy (1987: 36-40) ได้กล่าวถึง การตีความเข้าใจ หรือ อัตตะอ์วีล (ليوتأ) อัลกุรอานของบรรดาเศาะฮาบะฮฺว่า เป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกิดความเห็น ต่างระหว่างบรรดาเศาะฮาบะฮฺ ดังจะเห็นได้ว่า พวกเขาบางคนก็ยึดความเข้าใจโดยไม่มีการ ตีความหมาย ขณะที่บางคนก็พิจารณาและให้ความส าคัญกับจุดมุ่งหมายของตัวบท และถอดความ เข้าใจดังกล่าวเป็นหลักการปฏิบัติในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งนี้ บรรดานักกฎหมายอิสลาม (ฟุเกาะฮาฮ์) ก็ได้ให้ค าอธิบายพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า จะต้องมีกรอบจุดมุ่งหมายตามหลักเจตนารมณ์แห่ง กฎหมายอิสลาม ซึ่งบางครั้งก็ยึดความเข้าใจตามตัวบทโดยไม่ต้องอาศัยการอธิบายเพิ่มเติม และใน บางครั้งก็ต้องใช้ความพยายามในการอธิบายจุดมุ่งหมายจากตัวบท โดยจะเรียกลักษณะการท าความ เข้าใจเช่นว่าเป็นการตีความหมาย (อัตตะอ์วีล) จ าแนกเป็น 3 ประเภท คือ

1) การตีความหมายใกล้ ( بيَ رَ قَلي َ تأَ و อ่านว่า ตะอ์วีล เกาะรีบ) หมายถึง การ ตีความหมายในลักษณะถอดความเข้าใจในเรื่องที่มีลักษณะใกล้เคียงกับตัวบท เช่น การตีความในเรื่อง การห้ามน าทรัพย์ของเด็กก าพร้ามาบริจาค ห้ามการถลุงเงินของเด็กก าพร้า หรือความเข้าใจใน ลักษณะข้อห้ามที่ใกล้เคียงกันนั้น ดังตัวบทที่อัลลอฮฺ  ตรัสว่า

َ ص ي س وََۖاًر نََ م نِو ط بَ فيَ نو ل ك يََا نَّ إَاًم ل ظَٰى ما ت ـي لاَ لا و م أَ نو ل ك يََ ني ذ لاَ ن إ اًير ع سَ ن و ل

َ

لا(

َ ءاسن 01 )

َ

ความว่า “แท้จริงบรรดาผู้ที่กินทรัพย์ของบรรดาเด็กก าพร้าด้วยความอธรรมนั้น แท้จริงพวกเขากินไฟเข้าไปในท้องของพวกเขาต่างหาก และพวกเขาก็จะเข้าไปสู่

เปลวเพลิง” (อันนิสาอ์: 10)

และเช่นเดียวกับตัวอย่าง การตีความเข้าใจจากหะดีษในเรื่องการห้ามปัสสาวะลง ภาชนะ แล้วน าปัสสาวะไปเททิ้งลงแหล่งน้ าที่อยู่นิ่ง เนื่องจากถือว่าการกระท าดังกล่าวเป็นการท าให้

แหล่งน้ าที่อยู่นิ่งนั้นมีโอกาสที่จะเน่าเสียได้ ซึ่งเป็นการตีความเข้าใจค าสอนของท่านเราะสูล  ที่ว่า

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 150-158)