• Tidak ada hasil yang ditemukan

ด้านการแสดงความเห็น

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 194-200)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

3) ด้านการแสดงความเห็น

3.1) การยึดหลักอิสลามสายกลาง หมายถึง การแสดงความเห็นต่างโดยยึด หลักเกณฑ์และขั้นตอนในการน าเสนอความเห็นด้วยความบริสุทธิ์ใจ ใช้เวลาและวิทยปัญญา ตลอดจน ค านึงถึงหลักอิสลามสายกลาง (วะสะฏียะฮฺ) เพื่อรักษาความเป็นเอกภาพของสังคมมุสลิม

3.2) การอ้างอิงหลักฐานหรือสายรายงาน หมายถึง การน าเสนอหลักฐานหรือสาย รายงานที่แตกต่างกัน บางครั้งมีหลักฐานและบางครั้งไม่มีหลักฐาน หรือบางครั้งหลงลืมหลักฐาน หรือ ในบางครั้งเป็นเรื่องเดียวกัน แต่การน าเสนอสายรายงานและสถานะของหลักฐานแตกต่างกัน

3.3) การเปิดใจและยอมรับความเห็นต่าง หมายถึง การแสดงความเห็นด้วยความ สนใจสัจธรรมและมีความสามารถในการเปิดใจยอมรับความเห็นต่างจากความคิดหรือความเชื่อเดิมที่

ตนมีอยู่ โดยเห็นถึงความส าคัญของหลักฐานหรือข้อมูลที่แตกต่างจากตนเอง

3.4) การยึดติดกลุ่มหรือพวกพ้อง (ตะอัศศุบ) หมายถึง การแสดงความเห็นต่างโดยมี

อคติทางความคิดหรือการยึดติดความเชื่อเดิมที่มีต่อกลุ่ม พวกพ้อง หรืออาจารย์ รวมถึงการมีอคติทาง อารมณ์ บิดเบือนความรู้ ความเข้าใจ การยอมรับ และการตัดสินใจ

ทั้งนี้ จากผลการวิเคราะห์ข้างต้น ผู้วิจัยจะใช้เป็นกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสัมภาษณ์

เชิงลึกเพื่อศึกษาสาเหตุที่ท าให้เกิดความเห็นต่างในสังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จาก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในขั้นตอนการศึกษาภาคสนามต่อไป

2.2.4 ผลลัพธ์และข้อชี้ขาดทางศาสนาอิสลามเกี่ยวกับความเห็นต่าง

แท้จริงอัลลอฮฺ  ได้ทรงเตือนผู้ศรัทธาให้ระมัดระวังการแสดงความเห็นต่างกันระหว่างผู้

ศรัทธา โดยเฉพาะความเห็นในเรื่องที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งและความแตกแยกในหมู่ผู้ศรัทธา

(‘Āqil Muhammad al-Maqtariy, 1993: 16-17) ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า

ْمَُلَ َكِئََٰلوُأَو ۚ ُتاَنِ يَ بْلا ُمُهَءاَج اَم ِدْعَ ب نِم اوُفَلَ تْخاَو اوُقَّرَفَ ت َنيِذَّلاَك اوُنوُكَت َلََو  ٌ اَذََ

ميِظََ

َ لآ(  :نارم 501 )

ความว่า “และพวกเจ้าจงอย่าเป็นเช่นบรรดาผู้ที่แตกแยกกันและขัดแย้งกัน หลังจากที่

บรรดาหลักฐานอันชัดแจ้งได้มายังพวกเขาแล้ว และชนเหล่านี้แหละส าหรับพวกเขา คือ การลงโทษอันใหญ่หลวง” (อาลิอิมรอน: 105)

ۖ ُهوُعِبَّتاَف اًميِقَتْسُم يِطاَرِص اَذََٰه َّنَأَو َّرَفَ تَ ف َلُبُّسلا اوُعِبَّتَ ت َلََو

مُكاَّصَو ْمُكِلَََٰٰ ۚ ِِِليِبََ نََ ْمُكِب َق

َنوُقَّ تَ ت ْمُكَّلَعَل ِِِب :ماعنلأا( 

511 )

ความว่า “และแท้จริง นี้คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติตามมันเถิด และอย่า ปฏิบัติตามหลาย ๆ ทาง เพราะมันจะท าให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของพระองค์ นั่น แหละที่พระองค์ได้สั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะย าเกรง” (อัลอันอาม: 153)

َِّللّا َلَِإ ْمُهُرْمَأ اََّنَِّإ ۚ ٍءْيَش ِفِ ْمُهْ نِم َتْسَّل اًعَ يِش اوُناَكَو ْمُهَ نيِد اوُقَّرَ ف َنيِذَّلا َّنِإ  اَِبِ مُهُ ئِ بَ نُ ي َُّثُ

َنوُلَعْفَ ي اوُناَك :ماعنلأا( 

511 )

ความว่า “แท้จริงบรรดาผู้ที่แบ่งแยกศาสนาของพวกเขา และพวกเขาได้กลายเป็นกลุ่ม ต่าง ๆ นั้น เจ้า (มุฮัมมัด) หาใช่อยู่ในพวกเขาแต่อย่างใดไม่ แท้จริงเรื่องราวของพวกเขา นั้น ย่อมไปสู่อัลลอฮฺ แล้วพระองค์จะทรงแจ้งแก่พวกเขาในสิ่งที่พวกเขาได้เคยกระท าไว้”

(อัลอันอาม: 159)

ท่านเราะสูล  ได้เคยห้ามปรามผู้ศรัทธาให้ระวังอันตรายจากความขัดแย้งและความเห็น ต่างที่ไม่ก่อประโยชน์ ดังปรากฏในหลายหะดีษ เช่น รายงานจากท่านอบูฮุร็อยเราะฮฺ  กล่าวว่า

َجرخ((

ا َّتَّح َبضَغف ِردَقلا فِ ُعزانَتن ُننحو َمَّلَو ِِيَلَ َُّللّا ىَّلص َِّللّا ُلوَر انيَلَ

ُُِهجو َّرحم

،

م َكَله اَّنَّإ مكيلإ ُتلَرُأ اذَِبِ مأ ُْتُرِمُأ اذَِبِأ : َلاقف ،ُناَّمُّرلا ِِيتنجو فِ َئِقُف اَّنَّأك َّتَّح ن

ِرملأا اذه فِ اوَزانَت َينح مُكَلبق َناك ))ِِيف اوََزانَتت َّلَأ مكيلَ ُتمَزَ ،

115

115 หะดีษบันทึกโดย al-Tirmiziy หะดีษหมายเลข 2133 อิหม่ามอัลอัลบานีย์กล่าวว่า เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะห์

ความว่า “(ครั้งหนึ่ง) ท่านเราะสูล  ได้ออก (จากห้องพัก) มาหาพวกเรา ในขณะที่

พวกเราก าลังถกเถียง (ประเด็นศาสนา) เรื่องการก าหนดสภาวการณ์ ท่านเราะสูล  จึงได้โกรธพวกเรา จนกระทั่งว่าใบหน้าของท่านเป็นสีแดง (หรือ) จนกระทั่งว่าแก้ม ของท่านนั้นเป็นสีแดงเหมือนกับผลทับทิม แล้วท่านได้กล่าวว่า “สิ่งที่พวกท่านก าลัง ท าอยู่นี้ คือ สิ่งที่พวกท่านถูกสั่งใช้ใช่ไหม หรือฉันถูกแต่งตั้งมายังพวกท่านเพื่อให้ท า เช่นนี้ใช่ไหม แท้จริงประชาชาติก่อนหน้าพวกท่านได้ประสบความหายนะมาแล้ว อัน เนื่องจากพวกเขามีความเห็นขัดแย้งกันในเรื่องนี้ (และ) ฉันขอสั่งเสียพวกท่านทุกคน อย่าได้ขัดแย้งกันในเรื่องนี้””

และรายงานจากท่านอบูฮุร็อยเราะฮฺ  อีกเช่นกัน ท่านเราะสูล  เคยกล่าวว่า ْمِِلَاَؤُسِب ْمُكَلْ بَ ق َناك نَم َكَلَه اَّنَّإ ،ْمُكُتْكَرَ ت ام ِنِوََُد((

ِهِف َلَِتْخاَو ْمُكُتْ يََنَ اََِٰإَف ،ْمِهِئاَيِبْنَأ ىَلَ ْم

))ْمُتْعَطَتَْا ام ِنم اوُتْأَف ٍرْمَِبِ ْمُكُتْرَمَأ اََٰإو ،ُهوُبِنَتْجاَف ٍءيش نَ

116

ความว่า “ท่านทั้งหลายอย่าได้ซักไซ้ไล่เลียง (จนเกินเหตุ) เกี่ยวกับสิ่งที่ฉันได้สั่งใช้พวก ท่าน แท้จริงประชาชาติก่อนหน้าพวกท่านได้ประสบความหายนะมาแล้ว เนื่องจาก ค าถาม (มากเกินไป) และความเห็นขัดแย้งของพวกเขากับบรรดาศาสนทูต ดังนั้น เรื่องใดที่ฉันได้ห้ามพวกท่านแล้ว ก็จงออกห่างจากมัน และเรื่องใดที่ฉันได้ใช้พวกท่าน แล้ว ก็จงปฏิบัติตามที่พวกท่านมีความสามารถเถิด”

จากตัวอย่างค าสั่งห้ามในอัลกุรอานและอัลหะดีษข้างต้น แสดงให้เห็นว่าอัลลอฮฺ  และ ท่านเราะสูล  ได้เตือนผู้ศรัทธาให้หลีกเลี่ยงความเห็นต่างที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง และให้พวก เขาระวังความแตกแยกเนื่องจากความเห็นต่าง โดยเฉพาะประเด็นหลักศรัทธาที่มีหลักฐานชัดเจน เพราะจะท าให้เกิดการเลยเถิดในเรื่องความเชื่อที่ถูกต้อง อันเป็นต้นเหตุส าคัญที่ท าให้ประชาชาติยุค ก่อนต้องประสบความหายนะ ขณะที่ความเห็นต่างในประเด็นปลีกย่อยซึ่งไม่มีหลักฐานชัดเจน และ ยังคงมีความต้องการการวินิจฉัยข้อชี้ขาดทางศาสนา หากประเด็นดังกล่าวไม่น าไปสู่ความขัดแย้งและ ความแตกแยกจะถือเป็นเรื่องที่อิสลามให้การยอมรับ ดังที่นักวิชาการอิสลามหลายท่านได้น าเสนอ ความเห็นเกี่ยวกับผลลัพธ์จากวามเห็นต่าง ทั้งผลลัพธ์เชิงลบและผลลัพธ์เชิงบวก (‘Āqil

Muhammad al-Maqtariy, 1993: 67; Jalāl al-Dīn ‘Abd al-Rahmān al-Sayūtiy, 2006: 25;

Muhammad ‘Aawwāmah, 2007: 28; ‘Abdullāh bin ‘Abd al-Musin al-Turakiy, 2010:

67-68; Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy, 2017: 57-80; ‘Aliy Wanis, n.d.: 6-8) ซึ่งในส่วน ผลลัพธ์เชิงลบ ผู้วิจัยสามารถวิเคราะห์ภาพรวมและสรุปได้ 2 ด้าน ดังนี้

116 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhariy หะดีษหมายเลข 7288; Muslim หะดีษหมายเลข 1337

2.2.4.1 ด้านการปฏิบัติตามหลักค าสอนอิสลาม

หลักค าสอนของอิสลามหรือหลักธรรมแห่งสัจธรรมซึ่งอัลลอฮฺ  ได้ทรงประทาน ให้แก่มนุษย์นั้น มีลักษณะของความเป็นวิวัฒนาการที่มีความเหมาะสมกับช่วงเวลา เหตุการณ์ และ สถานที่ เพื่อให้พวกเขาได้ศรัทธาต่อความเป็นเอกะของพระองค์ ถวายความจงรักภักดี ยอมศิโรราบ ต่อความยิ่งใหญ่ของพระองค์ และน้อมน ามาปฏิบัติเป็นครรลองของชีวิต โดยถือเป็นความเมตตาที่

พระองค์ทรงประทานผ่านบรรดาศาสนทูต ดังที่พระองค์ตรัสว่า

يِصَب عيَِسَ ََّللّا َّنِإ ۚ ِساَّنلا َنِمَو ًلََُُر ِةَكِئ َلََمْلا َنِم يِفَطْصَي َُّللّا  :جلحا( 

51 )

ความว่า “อัลลอฮฺทรงคัดเลือกบรรดาทูตจากหมู่มะลาอิกะฮฺและจากหมู่มนุษย์ แท้จริง อัลลอฮฺ คือ ผู้ทรงได้ยิน ผู้ทรงเห็น” (อัลหัจญ์: 75)

Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy (2017: 61) กล่าวว่า อายะฮฺนี้ แสดงให้เห็นถึง การคัดเลือกศาสนทูตท าหน้าที่เผยแผ่หลักธรรมให้แก่มนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา และเป็นพื้นฐานในการ ศรัทธาผ่านบรรดาศาสนทูตของพระองค์ จนกระทั่งถึงยุคของท่านเราะสูล  ซึ่งเป็นยุคสุดท้ายที่มุ่ง ก าชับความเหนียวแน่นในหลักศรัทธาและมีหลักค าสอนสมบูรณ์ ครอบคลุม และสะดวกง่ายดาย ดังที่

พระองค์ได้ตรัสว่า

ِ دلا ِفِ ْمُكْيَلََ َلَعَج اَمَو ْمُكاَبَ تْجا َوُه ۚ ِهِداَه ِج َّقَح َِّللّا ِفِ اوُدِهاَجَو  َةَّلِ م ۚ ٍجَرَح ْنِم ِني

ْيَلََ اًديِهَش ُلوََُّرلا َنوُكَيِل اَذََٰه ِفَِو ُلْبَ ق نِم َينِمِلْسُمْلا ُمُكاََّسَ َوُه ۚ َميِهاَرْ بِإ ْمُكيِبَأ اوُنوُكَتَو ْمُك

َوُه َِّللِّبِ اوُمِصَتَْاَو َةاَكَّزلا اوُتآَو َة َلََّصلا اوُميِقَأَف ۚ ِساَّنلا ىَلََ َءاَدَهُش َمْعِنَو ََٰلَْوَمْلا َمْعِنَف ۖ ْمُك َلَْو َم

ُيِصَّنلا :جلحا( 

57 )

ความว่า “และจงต่อสู้เพื่ออัลลอฮฺ ซึ่งเป็นการต่อสู้ที่แท้จริงเพื่อพระองค์ พระองค์ทรง คัดเลือกพวกเจ้า และพระองค์มิได้ทรงท าให้เป็นการล าบากแก่พวกเจ้าในเรื่องของ ศาสนา ศาสนา (ที่ไม่ล าบาก) คือ ศาสนาของอิบรอฮีม บรรพบุรุษของพวกเจ้า พระองค์

ทรงเรียกชื่อพวกเจ้าว่ามุสลิมีน ในคัมภีร์ก่อน ๆ และในอัลกุรอานเพื่อเราะสูลจะได้เป็น พยานต่อพวกเจ้า และพวกเจ้าจะได้เป็นพยานต่อมนุษย์ทั่วไป ดังนั้นพวกเจ้าจงด ารงการ ละหมาด และบริจาคซะกาต และจงยึดมั่นต่ออัลลอฮฺ พระองค์เป็นผู้คุ้มครองพวกเจ้า เพราะพระองค์ คือ ผู้คุ้มครองที่ดีเลิศ และผู้ทรงช่วยเหลือที่ดีเยี่ยม” (อัลหัจญ์: 78)

และถือเป็นหลักธรรมแห่งความเมตตาที่พระองค์ได้ทรงโปรดปรานและทรงประทาน ผ่านท่านเราะสูล  ดังที่พระองค์ตรัสว่า

ًةَْحمَر َّلَِإ َكاَنْلََْرَأ اَمَو َينِمَلاَعْلِ ل

:ءايبنلأا(  505

)

ความว่า “และเรามิได้ส่งเจ้ามาเพื่ออื่นใดนอกจากเพื่อเป็นความเมตตาแก่ประชาชาติ

ทั้งหลาย” (อัลอันบิยาอ์: 107)

ด้วยเหตุนี้ การปฏิบัติตามหลักค าสอนของอิสลาม จึงเป็นแนวทางพื้นฐานในการ สร้างประชาชาติ (อุมมะฮฺ) ตามค านิยามในอัลกุรอาน ประชาชาติที่ยืนหยัดในความเป็นเอกภาพและ แก่นแท้ในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ มีความศรัทธาต่อพระองค์ ไม่แบ่งแยกความแตกต่างด้าน สัญชาติ สีผิว ภาษา ภูมิศาสตร์ ความเห็น หรือความแตกต่างใด ๆ และถือเป็นประชาชาติที่ดีเลิศที่

เรียกร้องกันสู่ความดีงาม ดังที่พระองค์ตรัสว่า

ُأَو ۚ ِرَكنُمْلا ِنََ َنْوَهْ نَ يَو ِفوُرْعَمْلِبِ َنوُرُمَْيََو ِْيَْلْا َلَِإ َنوَُْدَي ةَّمُأ ْمُكنِ م نُكَتْلَو  ُمُه َكِئََٰلو

َنوُحِلْفُمْلا :نارمَ لآ(

501 )

ความว่า “และจงให้มีขึ้นจากพวกเจ้า ซึ่งคณะหนึ่งที่จะเชิญชวนไปสู่ความดีและใช้ให้

กระท าสิ่งที่ชอบ และห้ามมิให้กระท าสิ่งที่มิชอบ และชนเหล่านี้แหละพวกเขาคือผู้ได้รับ ความส าเร็จ” (อาลิ อิมรอน: 104)

ทั้งนี้ หากผู้ศรัทธายังมีความขัดแย้งกันหรือยึดติดแนวทางที่คิดขึ้นเอง ไม่ว่าจะเป็น แนวทางที่พวกเขาสร้างขึ้นเพื่อบริหารจัดการสังคม เช่น ประชาธิปไตยหรือการรวมอ านาจในการ ปกครองก็ตาม พวกเขาก็จะไม่สามารถสร้างสังคมที่เข้มแข็งได้อย่างแท้จริง นอกจากจะต้องน าหลักค า สอนอิสลามมาปฏิบัติและสร้างความพึงพอใจและความประทับใจแก่ทุกคน ดังที่เคยปรากฏแบบอย่าง ในยุคของท่านเราะสูล  บรรดาเคาะลีฟะฮฺ เศาะฮาบะฮฺ และตาบิอีน ก่อนที่ความขัดแย้งจะเกิดขึ้น จากการเกิดกลุ่มต่าง ๆ และเป็นเหตุให้สังคมอ่อนแอ (Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy, 2017:

63) ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ความส าคัญของหลักการอิสลามที่เคยเป็นพื้นฐานในการจัดการสังคมได้

กลายเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสังคมมุสลิมเท่านั้น

2.2.4.2 ด้านความเป็นเอกภาพของสังคมมุสลิม

อัลลอฮฺ  ได้แจ้งจุดมุ่งหมายส าคัญของการเผยแผ่หลักการของพระองค์ผ่าน คัมภีร์อัลกุรอานเพื่อให้มนุษย์ทุกคนได้ทราบว่า แท้จริงพวกเขานั้นมีที่มาจากชีวิตเดียวกันและเป็น ประชาชาติเดียวกัน ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า

َّثَبَو اَهَجْوَز اَهْ نِم َقَلَخَو ٍةَدِحاَو ٍسْفَّ ن نِ م مُكَقَلَخ يِذَّلا ُمُكَّبَر اوُقَّ تا ُساَّنلا اَهُّ يَأ َيَ  اَمُهْ نِم

ْمُكْيَلََ َناَك ََّللّا َّنِإ ۚ َماَحْرَْلأاَو ِِِب َنوُلَءاَسَت يِذَّلا ََّللّا اوُقَّ تاَو ۚ ًءاَسِنَو اًيِثَك ًلَاَجِر اًبيِقَر

:ءاسنلا(

5 )

ความว่า “มนุษยชาติทั้งหลาย จงย าเกรงพระเจ้าของพวกเจ้าที่ได้บังเกิดพวกเจ้ามาจาก ชีวิตหนึ่ง และได้ทรงบังเกิดจากชีวิตนั้นซึ่งคู่ครองของเขา และได้ทรงให้แพร่สะพัดไปจาก

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 194-200)