• Tidak ada hasil yang ditemukan

นิยามความเห็นต่างในอิสลาม

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 125-130)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.2.1 นิยามความเห็นต่างในอิสลาม

ความเห็นต่างหรือในภาษาอาหรับ คือ “فلاتخلا” อ่านว่า อัลอิคติลาฟ ตามที่นักวิชาการ อิสลามได้ท่านได้ให้ค านิยามทั้งในเชิงภาษาและเชิงวิชาการ และได้มีการน าเสนอค าศัพท์ที่มี

ความหมายคล้ายคลึงและแตกต่างกันนั้น (‘Abd al-Salām al-Sulaymāniy, 1993: 146; Hind Muhammad, ‘Abd al-Salām al-Sulaymāniy:1 9 9 3 nd: 4 9 8 ; Tāhā Jābir Fayyād al-

‘Ulwāniy. 1987: 21-23; Jabbār Dahshun al-Taiiy. 2007: 98; ‘Aliy Wanis, n.d. : 3)

ผู้วิจัยสามารถสรุปได้ ดังนี้

2.2.1.1 นิยามเชิงภาษา

ค าว่า “ف َلا ِتخ ِلا” อ่านว่า อัลอิคติลาฟ ในพจนานุกรม (almaany.com) ระบุว่า َفلتخا َإ َفلتخا ،

ىلع َفلتخا ، ْع َفلتخا ،

ِلتمخ وهف ، اًفلاتخا ، فلتيَ فِ َفلتخا ، ، ف

) يِّدعتملل ( فَلَ تُْمخ لوعفلماو

ให้ความหมายว่า แตกต่าง ขัดแย้ง หรือ ตรงกันข้าม เช่น “نائيشلا َفلَتْخا” แปลว่า ทั้งสองสิ่งนั้น แตกต่างกัน หรือมีไม่ตรงกัน หรือ “ ِيْأَّرلا ِفِ ُهَعَم َفَلَ تْخِا” แปล เขามีความเห็นตรงกันข้ามกับอีกฝ่าย หนึ่ง เป็นต้น

Jabbār Dahshun al-Taiiy (2007: 98) และ‘Aliy Wanis (n.d.: 3) กล่าวว่า ราก ศัพท์ของค า “ف َلا ِتخ ِلا” มาจากค ากริยา “ َف َل ْخ َ ت ِا” อ่านว่า อิคตะละฟะ มีความหมายว่า แตกต่าง ตรงข้ามกับค า “قافِّتلا” อ่านว่า อัลอิตติฟากฺ ซึ่งมีความหมายว่า เห็นพ้องกัน ซึ่งสอดคล้องกับนิยาม ในพจนานุกรมศัพท์ภาษอาหรับ (Ibn Manzur, Lisān al-Arab: 9/82) ได้ให้ค าอธิบายว่า

"

َ تخ ِا َف َل ْلا َأ ْم َر َل نا ْم

َ ي َت ِف َق َو .ا ُْ ُك َم َل ا ْم َ ي َت َس َ ف َوا َق ْد ْخا َ ت َل َف

"

แปลว่า “สองเรื่องนั้นได้แตกต่าง (จึง) ไม่สอดคล้องกัน และทุกสิ่งที่ไม่เสมอกัน จึงถือ ว่า มันได้แตกต่างกัน”

และในการให้ค านิยามค านี้ของ al-Fayruz Abadiy (Basair Zawiy al-Tamjiz:

2/562) และ Muhammad ‘Aawwāmah (2007: 11) ได้อธิบายเชิงภาษา โดยอ้างถึงค าพูดของ

al-Imam al-Raghib al-Asfahaniy ในหนังสือ “Mufradāt al-Qurān” ว่า

هِلْعِف وَأ ِهِلاَح ِفِ ِرَخلآا ِقيِرَط َْيَْغ ًاقْيِرَط ،دِحاَو ُُّْك َذُخَْيَ نَأ :ُةَفَلاَخُمْلاَو ُف َلاِتْخِْلَا”

แปลว่า “ความแตกต่างและการขัดแย้งนั้น หมายถึง การที่คนหนึ่งยึดถือแนวทางหนึ่ง ซึ่งไม่ใช่แนวทาง (เดียวกับ) ของอีกคนหนึ่ง ทั้งในสภาพ (ภาพรวม) หรือการปฏิบัติของ เขา”

Jabbār Dahshun al-Taiiy (2007: 98) กล่าวว่า ตัวอย่างการใช้ค า “ف َلا ِتخ ِلا” ดังปรากฏในค าพูดของท่านเราะสูล  เกี่ยวกับเรื่องการห้ามแตกแถวในเวลาละหมาด ว่า

اوُوَ تْسا((

لَو ، اوُفِلَتَْتَّ

َفِلَتْخَت َ ف ))ْمُكَُوُلُ ق

48

ความว่า “ท่านทั้งหลายจงท าแถวให้เสมอกัน และอย่าท าให้แถวไม่เสมอกัน (เพราะ มัน) จะท าให้หัวใจ (หรือความสามัคคี) ของท่านทั้งหลายแตกจากกัน”

48 หะดีษบันทึกโดย Muslim หะดีษหมายเลข 432

ผู้วิจัยพบว่ามีค าศัพท์หลายค าที่มีความหมายใกล้เคียง (almaany.com) เช่น ،فَلاِخ َِتَْفِا ،ذَُاَنَ ت ،ّداَضَت ،فُّلاََتَّ ,ةَقَراَفُم ،ُْياَبَ ت ،عُزاَنَ ت ،ماَصِتْخِا

،دْعُ َ ، ْينََ ،ْوَ َ ،ٌَّداَضُم ،ةَفَلاَُمخ ،قا

عاَزِن ،قْرَ ف ،قِراف ،فلاِخ ،ةَموُصُخ ،تُواَفَ ت ،رُياََْ ت ،فُلاََتَّ ،ُْياَبَ ت ،دُعاَبَ ت ،ُْيابَت

อย่างไรก็ตามจากตัวอย่างค าศัพท์ที่มีความหมายใกล้เคียงกับค า “ف َلا ِتخ ِلا”ข้างต้น จะมีค า “فلالخا” อ่านว่า อัลคิลาฟ ซึ่งจะมีการเขียนคล้ายกับค า “ف َلا ِتخ ِلا” เนื่องจากมีรากศัพท์

เดียวกัน คือ ف ل خ แต่นักวิชาการหลายท่านได้พยายามอธิบายข้อแตกต่างในการน าไปใช้ว่า

“فلاتخلا”จะใช้ในกรณีที่พบว่า ความแตกต่างนั้นเกิดขึ้นจากการน าเสนอหลักฐานที่แตกต่างกัน

ขณะที่ค าว่า “فلالخا” จะถูกใช้ในกรณีที่พบว่า ความแตกต่างนั้นเกิดจากอารมณ์และความเห็น ส่วนตัวซึ่งไม่มีหลักฐานใดๆ มารองรับ (Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy, 1987: 21) หรือค าว่า

“فلاتخلا” คือ ความแตกต่างที่เป็นผลจากความเมตตา ขณะที่ “فلالخا” เป็นความแตกต่างที่เกิด

จากการอุตริกรรม (Muhammad ‘Aawwāmah, 2007: 12)

‘Aliy Wanis (n.d.: 3) กล่าวว่า นักกฎหมายอิสลามบางท่านได้ให้การยอมรับว่า ทั้งสองค ามีความหมายเหมือนกัน และสามารถใช้ค านี้ในการให้ความหมายเดียวกัน เช่น ความคิดเห็น ของ al-Shatibiy ในหนังสือ al-Muwafaqāt (4/161) เขากล่าวว่า “فلالخا تاعارم” ซึ่งมี

จุดมุ่งหมาย คือ “اهيف ةفلتمخ ةلدأ” หมายถึง การให้ความสนใจต่อการน าเสนอหลักฐานที่แตกต่างกัน และใน al-Fatawa al-Hindiyyah (3/312) ซึ่งใช้สองค านี้ในความหมายเดียวกัน ระบุว่า

"

َفَلَ تخا نِإ ين َلوَقلا ْيذَ َدَحَأ ىلَع مََُدعََ َْم ََجََأ م ُث ،ِينَلوَق لا ىَلَع َنوُمِدَقَ ت ُمْ لا

،

َفرُي ََْ ،عاجَلإا اذَهَ ف ُفلاِلخا

"مدَقَ ت ُ لما

แปลว่า “หากบรรดาผู้น าเสนอได้มีความเห็นต่างกันเป็นสองกลุ่ม จากนั้นได้พบว่ามี

กลุ่มนักวิชาการรุ่นหลังจากพวกเขาได้มีมติเอกฉันท์ร่วมกัน และยึดความเห็นใด ความเห็นหนึ่ง การมติเอกฉันท์ร่วมกันเช่นนี้ จะท าให้ความเห็นต่างกันของบรรดาผู้

น าเสนอ (อีกฝ่ายหนึ่ง) ตกไปหรือไม่”

‘Abd al-Wahhab bin Muhammad al-Hamiqaniy (n.d.: 24) กล่าวว่า ค าทั้ง สองค ามีความหมายและมีการน าไปใช้เหมือนกัน ทั้งในนิยามเชิงภาษาหรือในนิยามเชิงวิชาการ เนื่องจากมีจุดประสงค์ในด้านความหมายเหมือนกัน คือ ความแตกต่าง หรือความขัดแย้ง ไม่ว่าจะใช้

ค านี้เกี่ยวกับเรื่องความคิดเห็น ทรรศนะ การปฏิบัติ อุดมการณ์ หรือจุดยืนที่แตกต่างกัน

นอกจากนี้ ผู้วิจัยพบว่า ค า “ف َلا ِتخ ِلا” ในนิยามเชิงภาษานั้น เป็นค าที่มี

ความหมายตรงกันข้ามกับค าศัพท์หลายค า ซึ่งให้ความหมายว่า สอดคล้อง เสมอกัน เท่ากัน ตรงกัน เหมือนกัน หรือ คล้ายกัน (almaany.com) เช่น

ٌقاَفِّتِإ اضَت ،

،ُْم قافِو ِتْئِإ ، ٌفلا ٌماَجِسْنِإ ، ٌءاقتلا ,،

، ٌلاثتما ٌفُلتآ ،

ٌسُنا ََ ، ٌهَُاشَت ،

ٌقَُاَطَت ، ٌنواعَت ،

،

ٌمَُافَت ٌبُراقَت ، مُؤَلاَت ،

ُْثاََتَ ، ٌمُغانَت ، ٌمُغاَنَ ت ،

ٌقُفاَوَ ت ، وُ نُد ،

ٌهَبَش ، ُ ق، ٌبْر ٌةَلَكاشم ، ٌةَعَراضم ،

،

ٌٌاَاضم ٌةَلَ ثاَُِ،

2.2.1.2 นิยามเชิงวิชาการ

การศึกษานิยามเชิงวิชาการ พบว่า “ف َلاِتخِلا” หมายถึง การที่คนหนึ่งยึดถือ แนวทางหนึ่งซึ่งมีความแตกต่างจากคนอื่น เช่น ความแตกต่างในเรื่องความคิดเห็น ทรรศนะ ค าพูด การปฏิบัติ กลุ่ม หรือจุดยืนที่แตกต่างจากคนอื่น (Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy, 1987: 21;

‘Abd al-Salām al-Sulaymāniy, 1993: 146; ‘Abd al-Salām al-Sulaymāniy, 1993: 146)

และนิยามของ Jabbār Dahshun al-Taiiy (2007: 98) อธิบายว่า “ف َلاِتخِلا” หมายถึง ความเห็น ต่างระหว่างบรรดาผู้มีความเห็นขัดแย้งกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง หรือน าเสนอความ ถูกต้อง หรือเพื่อขจัดข้อมูลที่เป็นเท็จ

ทั้งนี้ จากนิยามเชิงวิชาการดังกล่าว ผู้วิจัยพบว่า นักวิชาการหลายท่านได้จ าแนก ระดับความเห็นต่างออกเป็น 3 ระดับ (Jabbār Dahshun al-Taiiy, 2007: 98; Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy. 1987: 22-23) ได้แก่

1) ระดับการความเห็นต่างทั่วไป โดยนักวิชาการส่วนใหญ่จะเรียกระดับนี้ว่า

“ف َلا ِتخ ِلا” หมายถึง การยึดถือแนวทางที่แตกต่างกันของแต่ละคน หรือการยึดถือแนวทางใด แนวทางหนึ่งที่มีความแตกต่างจากคนอื่น ซึ่งอาจจะน าไปสู่การแสดงความเห็นที่ต่างกันหรือการเกิด ความขัดแย้งได้ (Tāhā Jābir Fayyād al-‘Ulwāniy. 1987: 21; Muhammad ‘Aawwāmah, 2007: 11) ดังตัวอย่างในอัลกุรอาน

َف َفَلَ تْخا ،ميِظَع ،مْوَ ي ِدَهْشَّم ِْم اوُرَفَك َْيِذَّلِّل ٌْْيَوَ ف ۖ ْمِهِنْيَ َ ِْم ُباَزْحَْلِا

:يمرم(  37 )

ความว่า “ดังนั้น คณะต่าง ๆ ได้ขัดแย้งระหว่างกันเอง ดังนั้น ความหายนะจงประสบ แก่บรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธา เมื่อมีการชุมนุมแห่งวันอันยิ่งใหญ่เถิด” (มัรยัม: 37)

َنوُلاَزَ ي َلَو ۖ ًٌَدِحاَو ًةَّمُأ َساَّنلا ََْعََلج َكََُّر َءاَش ْوَلَو  َينِفِلَتُْمخ

:دوَ(  119 )

ความว่า “และหากพระเจ้าของเจ้าทรงประสงค์ แน่นอนพระองค์จะทรงท าให้ปวง มนุษย์เป็นประชาชาติเดียวกัน แต่พวกเขาก็ยังคงแตกแยกกัน” (ฮูด: 118)

،لْوَ ق يِفَل ْمُكَّنِإ ،فِلَتُّْمخ

:تيَراذلا(  9

)

ความว่า “แท้จริงพวกเจ้าอยู่ในค าพูดที่ขัดแย้งกัน” (อัซซาริยาต: 8)

َّنِإ َْيَ ِهيِف اوُناَك اَميِف ِةَماَيِقْلا َمْوَ ي ْمُهَ نْ يَ َ ُِْصْفَ ي َوَُ َكَََّر َت

َنوُفِل :ٌدجسلا(  85

)

ความว่า “แท้จริงพระเจ้าของเจ้า พระองค์จะทรงตัดสินระหว่างพวกเขาในวันกิยามะฮฺ

ในสิ่งที่พวกเขาขัดแย้งกันในเรื่องนั้น” (อัสสะญะดะฮฺ: 25)

2) ระดับความเห็นต่างที่มีการโต้แย้ง เรียกว่า “ل َد َج َا ْل ” อ่านว่า อัลญะดัล หมายถึง การโต้แย้ง หรือโต้เถียง เป็นระดับความคิดเห็นต่างที่มีการอ้างหลักฐาน เพื่อให้ฝ่ายตรงข้าม พึงพอใจต่อความเห็นและหลักฐานที่ตนน าเสนอมีความน่าเชื่อถือมากกว่า โดยส่วนมากจะเป็น ประเด็นความเห็นต่างระหว่างบรรดานักกฎหมายอิสลามในเรื่องการให้น้ าหนักของหลักฐาน ดัง ที่อัลลอฮฺ  ได้ทรงสั่งใช้ท่านเราะสูล  และบรรดาผู้ศรัทธาว่า

َو مُْلَِداَج َُْسْحَأ َيَِ ِتَِّلِبِ

(

ْحنلا : ةيلآا ْم ضعَ

185 )

ความว่า “และจงโต้แย้งพวกเขาด้วยสิ่งที่ดีกว่า” (อันนะล์: ส่วนหนึ่งจากอายะฮฺ 125) َلَو اوُلِداََُ

ۖ ْمُهْ نِم اوُمَلَظ َْيِذَّلا َّلِإ َُْسْحَأ َيَِ ِتَِّلِبِ َّلِإ ِباَتِكْلا َََْْأ (

توبكنعلا :

ةيلآا ْم ضعَ

66 )

ความว่า “และพวกเจ้าอย่าโต้เถียงกับพวกอะฮ์ลุลกิตาบเว้นแต่ด้วยวิธีที่ดีกว่า” (อัล อันกะบูต: ส่วนหนึ่งจากอายะฮฺ 46)

3) ระดับความเห็นต่างที่มีความต้องการเอาชนะฝ่ายตรงข้ามหรือฝ่ายผู้มี

ความเห็นต่างจากตนเอง โดยไม่สนใจว่าอีกฝ่ายจะมีความพึงพอใจหรือยอมรับหลักฐานที่ตนเองยึดถือ หรือไม่ จนกระทั่งท าให้เกิดความแตกแยกและการเป็นศัตรูกัน ซึ่งจะเรียกระดับความเห็นต่างนี้ว่า

“قاَقِشلا” อ่านว่า อัชชิก๊อก หมายถึง การแตกแยก ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสว่า

ْمُتْفِخ ْنِإَو  َقاَقِش

يِرُي نِإ اَهِلََْأ ِّْْم اًمَكَحَو ِهِلََْأ ِّْْم اًمَكَح اوُثَعْ َاَف اَمِهِنْيَ َ اًح َلاْصِإ اَد

َّنِإ اَمُهَ نْ يَ َ َُّللَّا ِقِّفَوُ ي اًيِْبَخ اًميِلَع َناَك ََّللَّا

:ءاسنلا(  35

)

ความว่า “และหากพวกเจ้าหวั่นเกรงการแตกแยกระหว่างเขาทั้งสอง พวกเจ้าก็จงส่งผู้

ตัดสินคนหนึ่งจากครอบครัวของฝ่ายชาย และผู้ตัดสินอีกคนหนึ่งจากครอบครัวฝ่าย หญิง หากทั้งสองปรารถนาให้มีการประนีประนอมกันแล้ว อัลลอฮฺก็จะทรงให้

ความส าเร็จในระหว่างทั้งสอง แท้จริงอัลลอฮฺเป็นผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงสัพพัญญู” (อันนิ

สาอ์: 35)

ِفِ ْمَُ اََّنَِّإَف اْوَّلَوَ ت نِإَّو ۖ اوَدَتَْا ِدَقَ ف ِهَِ مُتنَمآ اَم ِْْثِِبِ اوُنَمآ ْنِإَف ،قاَق ِش

َُّللَّا ُمُهَكيِفْكَيَسَف ۖ

ُميِلَعْلا َُيِمَّسلا َوََُو (

ٌرقبلا : 137 )

ความว่า “แล้วหากพวกเขาศรัทธาอย่างที่พวกเจ้าศรัทธาแล้ว แน่นอนพวกเขาก็ย่อม ได้รับข้อแนะน าที่ถูกต้อง และหากพวกเขาผินหลังให้ แน่นอนพวกเขาย่อมอยู่ในความ แตกแยกกัน แล้วอัลลอฮฺก็จะทรงให้เจ้าพอเพียงแก่พวกเขา และพระองค์นั้นเป็นผู้ทรง ไว้ซึ่งการได้ยิน ทรงไว้ซึ่งความรอบรู้” (อัลบะเกาะเราะฮฺ: 137)

โดยสรุปความหมายข้างต้น ผู้วิจัยพบว่า ความเห็นต่าง หรือ อัลอิคติลาฟ

“ف الَِتخ ِلاا” หมายถึง การยอมรับหรือการยึดถือความคิดเห็น หรือทรรศนะ หรือค าพูด หรือ แนวทางปฏิบัติที่มีความแตกต่างกันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ซึ่งอาจเป็นความเห็นที่ท าให้ทั้งสองฝ่ายที่

มีความเห็นต่างกันได้รับความเข้าใจที่ถูกต้อง หรืออาจจะก่อให้เกิดความขัดแย้ง หากความเห็นต่างนั้น ไม่ได้ตั้งอยู่บนเจตนาหรือจุดมุ่งหมายเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงและยอมรับความถูกต้อง

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 125-130)