• Tidak ada hasil yang ditemukan

ด้านหลักการปฏิบัติศาสนกิจ

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 99-103)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.1.3 วะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

2.1.2.2 ด้านหลักการปฏิบัติศาสนกิจ

ค าสั่งใช้ในเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจ (อิบาดะฮฺ) ในอิสลามได้แสดงออกถึงคุณลักษณะ ความเป็นวะสะฏียะฮฺ ดังจะเห็นได้ว่า ค าสอนอิสลามได้ก าชับให้ผู้ศรัทธาปฏิบัติตนและแสดงออกถึง ความจงรักภักดีต่ออัลลอฮฺ  บนแนวทางสายกลาง แตกต่างจากความเชื่อและค าสอนของศาสนา อื่นๆ ซึ่งมีการบังคับผู้นับถือศาสนาให้ปฏิบัติตนเพื่อแสวงหาความสุขในโลกหน้าอย่างไร้ขอบเขต หรือ ในค าสอนที่บังคับให้มีการทรมานตนเองเพื่อตอบสนองต่อความเชื่อที่ตนนับถือ หรือบางศาสนาที่มี

ข้อบังคับเกี่ยวกับนักบวชหรือนักพรต ซึ่งต้องหักห้ามความต้องการของพวกเขาจากการแต่งงาน การ ร่วมหลับนอนระหว่างสามีภารยา หรือค าสอนที่ขัดแย้งต่อความต้องการด้านจิตใจซึ่งผู้นับถือศาสนา

นั้นๆ จะต้องหักห้ามตนเองจากสิ่งสวยงามและความสะดวกสบาย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พวกเขาจะต้อง ยึดถือปฏิบัติด้วยความยากล าบากและต้องฝืนต่อธรรมชาติอันบริสุทธิ์ของมนุษย์

ความเป็นวะสะฏียะฮฺในอิสลามได้ปรากฏเป็นคุณลักษณะพิเศษในเรื่องหลักการ ปฏิบัติศาสนกิจของอิสลามอย่างชัดเจน เช่นตัวอย่างในเรื่องการละหมาด อิสลามได้มีข้อบังคับให้

มุสลิมปฏิบัติละหมาด 5 เวลา หรือในหนึ่งสัปดาห์จะมีการบังคับให้ชายมุสลิมต้องร่วมละหมาดวันศุกร์

1 ครั้ง หรือในปีหนึ่งจะมีข้อบังคับในเรื่องการถือศีลอดหนึ่งเดือน หรือในเรื่องการประกอบพิธีฮัจญ์ 1 ครั้งในชีวิต หากเขามีความสามารถด้านทรัพย์สินและมีสุขภาพแข็งแรง หรือในเรื่องการบริจาคทาน บังคับ (ซะกาต) เมื่อมีทรัพย์สินหรือรายได้สะสมครบตามพิกัดและข้อบังคับที่ศาสนาก าหนด ซึ่งข้อ ปฏิบัติต่างๆ ข้างต้น กลับไม่นับเป็นเรื่องที่สร้างความยุ่งยากและล าบากต่อผู้ศรัทธา เนื่องจากการ ปฏิบัติศาสนกิจดังกล่าวยึดหลักสายกลาง ซึ่งจะท าให้ผู้ศรัทธามีความรักและความรู้สึกผูกพันธ์

ต่ออัลลอฮฺ  ในช่วงเวลาต่างๆ และเป็นความสัมพันธ์ที่มีความต่อเนื่องและมีความแนบแน่นระหว่าง บ่าวกับพระเจ้า จนกระทั่งเขาได้กลับคืนสู่พระองค์ ยิ่งไปกว่านั้น ผู้ศรัทธาจะไม่ละเลยต่อโอกาสในการ สร้างความดีงาม ถึงแม้ว่าเขาจะอยู่ในสถาการณ์ใดๆ เช่นหะดีษที่ท่านเราะสูล  ได้สั่งใช้ว่า

ِنإف ٌةليِسَف مكِدحأ ِدَيَِو ُةعاَّسلا ََِماق نإ((

َسِرْي َّتَّح َموقت َّلأ عاطتسا َْْعفيلف ،اه

32))

ความว่า “หาก (สัญญาณ) วันกิยามะฮฺได้เกิดขึ้น และในมือของคนใดในหมู่พวก ท่านมีต้นกล้าต้นไม้ (ซึ่งเตรียมไว้ส าหรับปลูก) แล้ว หากเขามีความสามารถที่จะ ปลูกมัน ขณะที่วันกิยามะฮฺก็ยังไม่ทันเกิดขึ้น ก็จงปลูกต้นกล้านั้นเถิด”

ด้วยเหตุนี้ จากตัวอย่างหะดีษข้างต้น จึงเป็นการแสดงให้เห็นถึงความส าคัญในการ สนับสนุนการตักตวงความดีงาม ในขณะที่ผู้ศรัทธาเองก็ต้องใช้ชีวิตตามปกติของตนเอง ซึ่งแสดงให้

เห็นถึงความส าคัญของการด าเนินชีวิตในโลกนี้และการปฏิบัติศาสนกิจและความดีงามที่ปรารถนา เพื่อให้ได้รับความใกล้ชิดจากพระเจ้าในโลกหน้า เช่นเดียวกับตัวอย่างในเรื่องการสั่งใช้ให้รีบเร่งมา ปฏิบัติละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะฮฺ) และแยกย้ายกันไปบนหน้าแผ่นดินหรือกลับไปใช้ชีวิตตามปกติ

หลังจากที่ผู้ศรัทธาได้เสร็จสิ้นจากการปฏิบัติศาสนกิจ ซึ่งดังกล่าวก็นับว่าเป็นพื้นฐานในการรับชัยชนะ และความส าเร็จทั้งชีวิตในโลกนี้และโลกหน้า อันเนื่องจากพวกเขามีการร าลึกถึงอัลลอฮฺ  อยู่

ตลอดเวลา ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า

َِّللَّا ِرْكِذ َََِٰإ اْوَعْساَف ِةَعُمُْلجا ِمْوَ ي ِْم ٌِ َلاَّصلِل َيِدوُن اَذِإ اوُنَمآ َْيِذَّلا اَهُّ يَأ َيَ َو

ََْيَ بْلا اوُرَذ

َنوُمَلْعَ ت ْمُتنُك نِإ ْمُكَّل ٌْيَْخ ْمُكِلََٰذ ِفِ اوُرِشَتناَف ٌُ َلاَّصلا ََِيِضُق اَذِإَف .

ِْم اوَُْ تْ َاَو ِضْرَْلِا

َنوُحِلْفُ ت ْمُكَّلَعَّل اًيِْثَك ََّللَّا اوُرُكْذاَو َِّللَّا ِْْضَف لجا( 

:ةعم 8 - 11 )

32 หะดีษบันทึกโดย al-Albaniy หะดีษหมายเลข 371 เขากล่าวว่าเป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะห์

ความว่า “โอ้บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย เมื่อได้มีเสียงร้องเรียก (อะซาน) เพื่อท าละหมาดใน วันศุกร์ก็จงรีบเร่งไปสู่การร าลึกถึงอัลลอฮฺ และจงละทิ้งการค้าขายเสีย นั่นเป็นการดี

ส าหรับพวกเจ้า หากพวกเจ้ารู้. ต่อเมื่อการละหมาดได้สิ้นสุดลงแล้ว ก็จงแยกย้ายกัน ไปตามแผ่นดิน และจงแสวงหาความโปรดปรานของอัลลอฮฺและจงร าลึกถึงอัลลอฮฺให้

มาก ๆ เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รับชัยชนะ” (อัลญุมอะฮฺ: 9-10)

นอกจากการปฏิบัติศาสนกิจ (อิบาดะฮฺ) ในอิสลามจะต้องควบคู่กับการด าเนินชีวิต แล้ว ผู้ศรัทธาเองก็จะต้องปฏิบัติศาสนกิจหรือความดีงามต่างๆ โดยยึดแนวทางสายกลางและพิจารณา ความเหมาะสม โดยจะต้องไม่ปฏิบัติอย่างสุดโต่งจนกระทั่งเกินขอบเขตหรือหย่อนยาน ดังที่ ‘Abd al-Azīz ‘Abd al-Rahmān ‘Aawdah (2010: 5) กล่าวว่า ผู้ศรัทธาได้ถูกสั่งใช้ให้ปฏิบัติศาสนกิจ และความดีงามต่าง ๆ บนพื้นฐานของความพอดีและค านึงถึงแนวทางสายกลาง เช่นตัวอย่างในเรื่อง การอ่านกุรอานเสียงดังในเวลาละหมาด ซึ่งอัลลอฮฺ  ได้ตรัสว่า

َكِت َلاَصَِ ْرَهََْ َلَو ًلايِبَس َكِلََٰذ َْينََ ِ،َتْ َاَو اَِبِ َِْفاَُتَّ َلَو

( ءارسلإا : ةيلآا ْم ضعَ

111 ) ความว่า “และอย่ายกเสียงดังในเวลาละหมาดของเจ้า และอย่าลดให้ค่อยเช่นกัน แต่

จงแสวงหาทางระหว่างนั้น (ปานกลาง)” (อัลอิสรออ์: ส่วนหนึ่งจากอายะฮฺ 110)

อับดุลลอฮฺ อิบนุ อับบาส  กล่าวว่า หมายถึง อัลลอฮฺ  ได้ทรงสั่งใช้แก่ท่าน เราะสูล ว่า อย่าได้อ่านอัลกุรอานจนเสียงดังเกินจนท าให้บรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธา (มุชริกีน) ในมักกะฮฺที่

ได้ยินอัลกุรอานเกิดความรู้สึกร าคาญและด่าทอต่ออัลกุรอาน (Tafsir Ibn Kathir: 5/128) 2.1.2.3 ด้านหลักคุณธรรมจริยธรรม

อิสลามให้ความส าคัญกับมนุษย์และยึดแนวทางสายกลางในการปฏิบัติตนและให้

เกียรติต่อเพื่อนมนุษย์อย่างเหมาะสมและเท่าเทียมกันในฐานะที่พวกเขาต่างเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้น (มัคลูกฺ) ที่มีความซับซ้อนและหลอมรวมเป็นชีวิตหนึ่ง ประกอบด้วยร่างกาย ความคิด สติปํญญา อารมณ์ ความรู้สึก และจิตวิญญาณ ค าสอนอิสลามได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นวะสะฏียะฮฺในแง่ของ คุณธรรมจริยธรรมที่พึงปฏิบัติต่อกัน แตกต่างจากกลุ่มแนวคิดที่สุดโต่ง ซึ่งพวกเขาให้เกียรติต่อมนุษย์

บางกลุ่มมีสถานะสูงส่งและยกย่องให้กลุ่มคนเหล่านั้นมีสถานะภาพเสมือนเทวดาหรือเทพเจ้า หรือ แตกต่างจากบางกลุ่มที่มีความเชื่อต่ าทรามและความคิดอคติต่อมนุษย์ด้วยกัน โดยมองว่ามนุษย์เป็น เสมือนสัตว์เดรัจฉาน และมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตไม่ต่างจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

หากแต่ในค าสอนอิสลาม ได้แสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะพิเศษของวะสะฏียะฮฺในด้าน คุณธรรมจริยธรรมนี้ โดยได้กล่าวถึงประเภทกลุ่มชนของมนุษย์ว่า พวกเขามีทั้งกลุ่มชนที่ย าเกรงต่อ พระเจ้าด้วยการประพฤติตนเป็นคนดีและมีความพยายามในการเอาชนะอารมณ์ใฝ่ต่ าของตนเอง และ มีกลุ่มชนที่ปฏิเสธศรัทธาซึ่งปล่อยปละละเลยต่อการประพฤติความดีและการขัดเกลาจิตใจตนเอง ดัง ที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสไว้ว่า

اََاَّوَس اَمَو ،سْفَ نَو اََاَوْقَ تَو اَََروُجُف اَهَمَْلََأَف .

اَّكَز َْم َحَلْ فَأ ْدَق . اََ

َْم َباَخ ْدَقَو .

اََاَّسَد لا( 

:سمش 7

- 11 )

ความว่า “และด้วยชีวิต และที่พระองค์ทรงท าให้มันสมบูรณ์. แล้วพระองค์ทรงดลใจ มันให้รู้ทางชั่วของมันและทางส ารวมของมัน. แน่นอนผู้ขัดเกลาชีวิตย่อมได้รับ ความส าเร็จ. และแน่นอนผู้หมกมุ่นมัน (ด้วยการท าชั่ว) ย่อมล้มเหลว” (อัชชัมส์: 7- 10)

นอกจากนี้ อิสลามได้ยึดแนวทางสายกลางในเรื่องการให้เกียรติต่อมนุษย์ในฐานะ เป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกสร้างขึ้นมาประกอบด้วยจิตวิญญาณและร่างกายซึ่งต้องได้รับการให้ความส าคัญ อย่างเท่าเทียมกัน เช่นเดียวกับเป้าหมายในการด าเนินชีวิตของพวกเขาที่จะต้องประพฤติตนอยู่ใน หลักคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีในโลกนี้และโลกหน้า แตกต่างจากบางกลุ่มความเชื่อที่มุ่งใช้

ชีวิตเพื่อโลกนี้โดยไม่สนใจชีวิตหลังความตาย หรือด ารงชีวิตอยู่เพื่อชีวิตหลังความตาย โดยไม่สนใจต่อ การใช้ชีวิตในโลกนี้ คุณลักษณะพิเศษของวะสะฏียะฮฺในหลักคุณธรรมและจริยธรรมนี้เอง จึงท าให้ผู้

ศรัทธาใช้ชีวิตอยู่ในแนวทางสายกลาง และมีความแตกต่างจากผู้ปฏิเสธศรัทธาซึ่งพวกเขาจมปลักกับ การยึดถือตามอารมณ์ (นัฟซู) ของตนเอง ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสไว้ว่า

َينِثوُعْ بَِبِ َُْْنَ اَمَو اَيْ نُّدلا اَنُ تاَيَح َّلِإ َيَِ ْنِإ اوُلاَقَو ا(

:ماعنلِ

88 )

ความว่า “และพวกเขากล่าวว่า มันมิใช่อะไรอื่นนอกจากชีวิตความเป็นอยู่ของเราใน โลกนี้เท่านั้น และเรานั้นใช่ว่าจะเป็นผู้ถูกให้ฟื้นคือชีพก็หาไม่” (อัลอันอาม: 29)

และตัวอย่างหะดีษเกี่ยวกับท่านเราะสูล  ซึ่งครั้งหนึ่งได้เคยเตือน อับดุลลอฮฺ บิน อัมร์  ในเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมและการใช้ชีวิตบนแนวทางสายกลาง เนื่องจากเขาเคยมุ่งมั่น ปฏิบัติความดีงาม (อิบาดะฮฺ) จนกระทั่งไม่มีเวลาพักผ่อน และไม่มีเวลาใช้ชีวิตร่วมกับภรรยาได้อย่าง ปกติฉันท์สามีภรรยาทั่วไป เพราะหลังจากที่ทั้งสองได้แต่งงานกัน อับดุลลอฮฺ บิน อัมร์  ก็ไม่เคยได้

ร่วมหลับนอนกับภรรยา เขาใช้เวลาทุ่มเทในการท าละหมาด และจบ (เคาะตัม) อัลกุรอานในทุกคืน และถือศีลอดในทุกวัน จนเป็นเหตุให้ อัมร์ บิน อัลอาศ  พ่อของเขาน าเรื่องดังกล่าวแจ้งต่อท่าน

เราะสูล  เพื่อขอให้ตักเตือน อับดุลลอฮฺ บิน อัมร์  ลูกชายของเขา ท่านเราะสูล  จึงได้กล่าว แก่เขาว่า

ا َلوسَر يَ ىَلَ َ :َُلُق َْْيَّللا ُموُقَ تو َراهَّنلا ُموُصَت َكَّنأ َْبَْخُأ َْلَأ ،َِّللَّا َدْبَع يَ((

: َلاق ،َِّللَّ

َكْيَلَع َكِنْيَعِل َّنإو ،ااقَح َكْيَلَع َكِدَسَِلج َّنإف ،َْنَو ْمُقو ،ْرِطْفَأو ْمُص ،َْْعْفَ ت لاف َح

،ااق

ااقَح َكْيَلَع َك ِجْوَزِل َّنإو ))

33

ความว่า “อับดุลลอฮฺเอ๋ย สนใจไหม ฉันจะบอกเจ้าเกี่ยวกับวิธีการ (ที่มีความพอดี

และเหมาะสม) ในการถือศีลอดเวลากลางวันและลุกขึ้นละหมาดในยามค่ าคืน”

ฉัน (อับดุลลอฮ) กล่าวว่า “สนใจครับ” ท่านเราะสูล  กล่าวว่า “แล้วเจ้าอย่าได้

ท าแบบนั้นอีก เจ้าจงถือศีลอดและจงละศีลอด (อย่างน้อยเดือนละ 3 วัน หรือ สัปดาห์ละ 3 วัน หรือ ถือศีลอดหนึ่งวันเว้นสองวัน หรืออย่างมากสุด ก็ให้ถือศีล อดวันเว้นวันเหมือนท่านนบีดาวูด ) และจงลุกขึ้นละหมาดยามค่ าคืน (และ จบอัลกุรอาน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) และจงนอน (พักผ่อน) แท้จริงแล้วส าหรับ ร่างกายของเจ้านั้น ก็มีสิทธิพึงได้รับจากเจ้า และส าหรับดวงตาของเจ้า ก็มีสิทธิ

(ได้รับการพักผ่อน) จากเจ้า และส าหรับภรรยาของเจ้า ก็มีสิทธิพึงได้รับ (การเอา ใจใส่ดูแล) จากเจ้า”

ด้วยเหตุนี้เอง การใช้ชีวิตของผู้ศรัทธาจึงต้องให้ความสนใจในเรื่องการปฏิบัติความดี

และการมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ในฐานะของผู้ที่มีหน้าที่ในการท านุบ ารุงและสร้างความดีงามบนหน้าแผ่นดิน และมุ่งหวังความสุขในโลกหน้า ดังบทขอพร (ดุอาอ์) ซึ่งท่านเราะสูล  ได้ขอพรเป็นประจ าว่า

ِراَّنلا َباَذَع اَنِقو ،ًةَنَسَح ٌَِرِخلآا فِو ،ًةَنَسَح اَيْ نُّدلا فِ اَنِتآ اَنَّ ََر َّمُهَّللا((

))

34

ความว่า “โอ้อัลลอฮฺ พระเจ้าของเรา ทรงโปรดประทานให้แก่พวกเรา ซึ่งสิ่งดีงามใน โลกนี้ และสิ่งดีงามในปรโลก และทรงโปรดคุ้มครองพวกเราให้พ้นจากการลงโทษใน ไฟนรกด้วยเถิด”

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 99-103)