• Tidak ada hasil yang ditemukan

ด้านหลักการจัดระเบียบทางสังคม

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 103-114)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.1.3 วะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

2.1.2.4 ด้านหลักการจัดระเบียบทางสังคม

เราะสูล  เพื่อขอให้ตักเตือน อับดุลลอฮฺ บิน อัมร์  ลูกชายของเขา ท่านเราะสูล  จึงได้กล่าว แก่เขาว่า

ا َلوسَر يَ ىَلَ َ :َُلُق َْْيَّللا ُموُقَ تو َراهَّنلا ُموُصَت َكَّنأ َْبَْخُأ َْلَأ ،َِّللَّا َدْبَع يَ((

: َلاق ،َِّللَّ

َكْيَلَع َكِنْيَعِل َّنإو ،ااقَح َكْيَلَع َكِدَسَِلج َّنإف ،َْنَو ْمُقو ،ْرِطْفَأو ْمُص ،َْْعْفَ ت لاف َح

،ااق

ااقَح َكْيَلَع َك ِجْوَزِل َّنإو ))

33

ความว่า “อับดุลลอฮฺเอ๋ย สนใจไหม ฉันจะบอกเจ้าเกี่ยวกับวิธีการ (ที่มีความพอดี

และเหมาะสม) ในการถือศีลอดเวลากลางวันและลุกขึ้นละหมาดในยามค่ าคืน”

ฉัน (อับดุลลอฮ) กล่าวว่า “สนใจครับ” ท่านเราะสูล  กล่าวว่า “แล้วเจ้าอย่าได้

ท าแบบนั้นอีก เจ้าจงถือศีลอดและจงละศีลอด (อย่างน้อยเดือนละ 3 วัน หรือ สัปดาห์ละ 3 วัน หรือ ถือศีลอดหนึ่งวันเว้นสองวัน หรืออย่างมากสุด ก็ให้ถือศีล อดวันเว้นวันเหมือนท่านนบีดาวูด ) และจงลุกขึ้นละหมาดยามค่ าคืน (และ จบอัลกุรอาน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) และจงนอน (พักผ่อน) แท้จริงแล้วส าหรับ ร่างกายของเจ้านั้น ก็มีสิทธิพึงได้รับจากเจ้า และส าหรับดวงตาของเจ้า ก็มีสิทธิ

(ได้รับการพักผ่อน) จากเจ้า และส าหรับภรรยาของเจ้า ก็มีสิทธิพึงได้รับ (การเอา ใจใส่ดูแล) จากเจ้า”

ด้วยเหตุนี้เอง การใช้ชีวิตของผู้ศรัทธาจึงต้องให้ความสนใจในเรื่องการปฏิบัติความดี

และการมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ในฐานะของผู้ที่มีหน้าที่ในการท านุบ ารุงและสร้างความดีงามบนหน้าแผ่นดิน และมุ่งหวังความสุขในโลกหน้า ดังบทขอพร (ดุอาอ์) ซึ่งท่านเราะสูล  ได้ขอพรเป็นประจ าว่า

ِراَّنلا َباَذَع اَنِقو ،ًةَنَسَح ٌَِرِخلآا فِو ،ًةَنَسَح اَيْ نُّدلا فِ اَنِتآ اَنَّ ََر َّمُهَّللا((

))

34

ความว่า “โอ้อัลลอฮฺ พระเจ้าของเรา ทรงโปรดประทานให้แก่พวกเรา ซึ่งสิ่งดีงามใน โลกนี้ และสิ่งดีงามในปรโลก และทรงโปรดคุ้มครองพวกเราให้พ้นจากการลงโทษใน ไฟนรกด้วยเถิด”

จัดการครอบครัว ระเบียบว่าด้วยภาวะสงครามหรือในยามสงบศึก รวมถึงระเบียบว่าด้วยเรื่องสิทธิ

ส่วนบุคคลหรือกลุ่ม (Yūsuf al-Qardāwiy 2009: 34-47) รวมถึงแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมุสลิมด้วยกันหรือมุสลิมกับเพื่อนต่างศาสนิก ตลอดจนการจัดระเบียบสังคมต่าง ๆ ซึ่งผู้ศรัทธาจะยึดหลักค าสอนอิสลามในการถือปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกของสังคมที่จะต้องค านึงถึง หลักการศาสนาในเรื่องที่ศาสนาอนุมัติ (ฮาลาล) และศาสนาห้าม (ฮารอม) ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสถึง คุณลักษณะของบรรดาผู้ศรัทธา ว่า

ِهْيَلَع ُمِّرَُيَُو ِتاَبِّيَّطلا ُمَُلَ ُُِّْيَُو ِرَكنُمْلا َِْع ْمَُاَهْ نَ يَو ِفوُرْعَمْلِبِ مَُُرُمَْيَ ََُضَيَو ََِئاَبَْلخا ُم

ْمِهْيَلَع ََْناَك ِتَِّلا َل َلاْغَْلِاَو ْمََُرْصِإ ْمُهْ نَع (

فارعلِا : ةيلآا ْم ضعَ

157 )

ความว่า “เขา (มุหัมมัด) จะใช้พวกเขา (บรรดาผู้ศรัทธา) กระท าในสิ่งที่ชอบและห้าม พวกเขามืให้กระท าในสิ่งที่ไม่ชอบ และจะอนุมัติให้แก่พวกเขาซึ่งสิ่งดีๆ ทั้งหลาย และ จะให้เป็นที่ต้องห้ามแก่พวกเขา ซึ่งสิ่งที่เลวทั้งหลาย และจะปลดเปลื้องออกจากพวก เขา ซึ่งภาระหนักของพวกเขาและห่วงคอ ที่เคยปรากฏอยู่บนพวกเขา” (อัลอะอฺร็อฟ:

ส่วนหนึ่งจากอายะฮฺ 157)

เช่นเดียวกับในเรื่องการจัดการครอบครัว ซึ่งอิสลามได้บัญญัติหลักการว่าด้วยแนว ทางการในการใช้ชีวิตคู่ระหว่างสามีภรรยา หรือบัญญัติว่าด้วยการเพิ่มจ านวนภรรยาของสามีตามที่

อิสลามได้อนุมัติเพื่อเป็นกรอบความเหมาะสม และก าหนดเงื่อนไขหรือคุณสมบัติของสามีที่อิสลาม อนุญาตให้เขาสามารถมีภรรยาหลายคนได้ ทั้งนี้เพื่อค านึงถึงความถูกต้องและความสงบสุขของสังคม เนื่องจากในสังคมก่อนอิสลามไม่เคยมีข้อก าหนดและเงื่อนไขในเรื่องดังกล่าว หากแต่อิสลามได้บัญญัติ

ในเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจน ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสไว้ว่า

ُثَو ََٰنَْثَم ِءاَسِّنلا َِّْم مُكَل َباَط اَم اوُحِكناَف َٰىَماَتَ يْلا ِفِ اوُطِسْقُ ت َّلَأ ْمُتْفِخ ْنِإَو ََ َلا

ْنِإَف ۖ َع َبُِرَو َ ت َّلَأ ََٰنَْدَأ َكِلََٰذ ْمُكُناَْيََأ ََْكَلَم اَم ْوَأ ًٌَدِحاَوَ ف اوُلِدْعَ ت َّلَأ ْمُتْفِخ

اوُلوُع

ا(

:ءاسنل 3 )

ความว่า “และหากพวกเจ้าเกรงว่าจะไม่สามารถให้ความยุติธรรมในบรรดาเด็ก ก าพร้าได้ ก็จงแต่งงานกับผู้ที่ดีแก่พวกเจ้า ในหมู่สตรี สองคน หรือสามคน หรือสี่คน แต่ถ้าพวกเจ้าเกรงว่าพวกเจ้าจะให้ความยุติธรรมไม่ได้ ก็จงมีแต่หญิงเดียว หรือไม่ก็

หญิงที่มือขวาของพวกเจ้าครอบครองอยู่ นั้นเป็นสิ่งที่ใกล้ยิ่งกว่าในการที่พวกเจ้าจะ ไม่ล าเอียง” (อันนิสาอ์: 3)

และในเรื่องการข้อบัญญัติเกี่ยวกับแนวทางในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน หรือแม้แต่ใน เรื่องข้อบัญญัติเกี่ยวกับการหย่าร้าง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวะสะฏียะฮฺในเรื่องการจัดระเบียบสังคม โดย อิสลามได้ให้ทางออกแก่ทั้งสองฝ่ายในกรณีที่ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ พระองค์ตรัสว่า

لا  ُذُخَْتَ نَأ ْمُكَل َُِّْيُ َلَو ،ناَسْحِِبِ ٌحيِرْسَت ْوَأ ،فوُرْعَِبِ ٌكاَسْمِإَف ۖ ِنَتًَّرَم ُق َلاَّط اَِِّ او

ُدُح اَميِقُي َّلَأ ْمُتْفِخ ْنِإَف ۖ َِّللَّا َدوُدُح اَميِقُي َّلَأ اَفاََيَ نَأ َّلِإ اًئْ يَش ََُّْوُمُتْ يَ تآ َلاَف َِّللَّا َدو

َحاَنُج ُح َّدَعَ تَ ي َْمَو اََوُدَتْعَ ت َلاَف َِّللَّا ُدوُدُح َكْلِت ِهَِ ْتَدَتْ فا اَميِف اَمِهْيَلَع َِّللَّا َدوُد

َنوُمِلاَّظلا ُمَُ َكِئََٰلوُأَف ا(

:ٌرقبل 888 )

ความว่า “การหย่านั้นมีสองครั้ง แล้วให้มีการยับยั้งไว้โดยชอบธรรม หรือไม่ก็ปล่อย ไปพร้อมด้วยการท าความดี และไม่อนุญาตแก่พวกเจ้าในการที่พวกเจ้าจะเอาสิ่งหนึ่ง สิ่งใดจากสิ่งที่พวกเจ้าได้ให้แก่พวกนาง (มะฮัร) นอกจากทั้งทั้งสองเกรงว่าจะไม่

สามารถด ารงไว้ซึ่งขอบเขตของอัลลอฮฺได้เท่านั้น ถ้าหากพวกเจ้าเกรงว่า เขาทั้งสอง จะไม่ด ารงไว้ซึ่งขอบเขตของอัลลอฮฺแล้วไซร้ ก็ไม่มีบาปใด ๆ แก่เขาทั้งสองในสิ่งที่นาง ใช้มันไถ่ตัวนาง เหล่านั้นแหละคือขอบเขตของอัลลอฮฺ พวกเจ้าจงอย่าละเมิดมัน และ ผู้ใดละเมิดขอบเขตของอัลลอฮฺแล้ว ชนเหล่านั้นแหละคือผู้ที่อธรรมแก่ตัวเอง”

(อัลบะเกาะเราะฮฺ: 229)

นอกจากนี้ ตัวอย่างวะสะฏียะฮฺเกี่ยวกับการจัดระเบียบสังคมในภาวะสงครามและใน ยามสงบศึก เพื่อให้บรรดาผู้ศรัทธามีความเข้มแข็งในการเผชิญหน้าต่อศัตรูอย่างกล้าหาญ ปกป้อง ศาสนา ชีวิต และเกียรติของพวกเขา และสั่งใช้ให้ยึดหลักคุณธรรม โดยห้ามการฆ่าผู้หญิง เด็ก คนชรา นักบวช หรือคนที่ไม่ต้องการรบกับผู้ศรัทธา และให้พวกเขาปฏิบัติด้วยมารยาทที่ดีต่อเชลยศึก และรัก ความสันติเมื่ออยู่ในยามสงบศึก ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสว่า

ۖ ْمُكَّل ٌهْرُك َوََُو ُلاَتِقْلا ُمُكْيَلَع َبِتُكو (

ٌرقبلا : ةيلآا ْم ضعَ

816 )

ความว่า “การสู้รบนั้นได้ถูกก าหนดแก่พวกเจ้าแล้ว ทั้งๆ ที่มันเป็นที่รังเกียจแก่พวก เจ้า” (อัลบะเกาะเราะฮฺ: ส่วนหนึ่งจากอายะฮฺ 216)

และเมื่อเข้าสู่ภาวะของการพักรบหรือการสงบศึก พระองค์ก็ได้ตรัสว่า َتِقْلا َينِنِمْؤُمْلا َُّللَّا ىَفَكَو اًْيَْخ اوُلاَنَ ي َْلَ ْمِهِظْيََِْ اوُرَفَك َْيِذَّلا َُّللَّا َّدَرَو ايَِوَق َُّللَّا َناَكَو َلا

اًزيِزَع ا( :بازحلِ

85 )

ความว่า “และอัลลอฮฺทรงให้พวกปฏิเสธศรัทธาถอยทัพกลับด้วยความเคียดแค้นของ พวกเขาโดยที่พวกเขามิได้ประสบความดีแต่อย่างใด และอัลลอฮฺทรงพอเพียงแล้วแก่

บรรดาผู้ศรัทธาในการสู้รบ และอัลลอฮฺเป็นผู้ทรงพลัง ผู้ทรงอ านาจอย่างเหลือหลาย”

(อัลอะห์ซาบ: 25)

ผู้วิจัยสามารถสรุปได้ว่า คุณลักษณะพิเศษของวะสะฏียะฮฺในหลักการอิสลามด้าน ต่าง ๆ เช่น ด้านหลักการศรัทธา (อะกีดะฮฺ) พบว่า ค าสอนอิสลามสนับสนุนให้ศรัทธาต่อการมีอยู่ของ พระเจ้าองค์เดียว ด้วยการน้อมรับต่อค าสอนจากอัลกุรอานและอัลหะดีษพร้อมกับสนับสนุนการ ใคร่ครวญสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เพื่อให้เกิดความศรัทธาที่ถูกต้องและปลอดภัยจากข้อสงสัยหรือความ แคลงใจใด ๆ ขณะที่คุณลักษณะพิเศษในด้านหลักการปฏิบัติศาสนกิจ (อิบาดะฮฺ) พบว่า อิสลาม สนับสนุนให้ผู้ศรัทธาปฏิบัติศาสนกิจอย่างเหมาะสม โดยให้ความส าคัญต่อวิถีการด าเนินชีวิตในโลกนี้

ควบคู่กับการปฏิบัติศาสนกิจเพื่อหวังผลตอบแทนความดีในโลกหน้า รวมทั้งห้ามการปฏิบัติที่เกิน ขอบเขตหรือหย่อนยาน ซึ่งในด้านหลักคุณธรรมจริยธรรม (อัคลาก) ซึ่งถือได้ว่าเป็นด้านการสร้าง จิตส านึกด้านคุณธรรมและควบคุมพฤติกรรมของมุสลิม พบว่า อิสลามมีค าสอนที่สนับสนุนให้มุสลิม รักและให้เกียรติต่อเพื่อนมนุษย์ในฐานะของบ่าวผู้ถูกสร้างขึ้น (มัคลูกฺ) โดยพระเจ้าองค์เดียวกัน เป็น สิ่งมีชีวิต จิตวิญญาณ อารมณ์ ความรู้สึก สติปัญญาและร่างกาย มุสลิมต้องตระหนักตนในฐานะของ ผู้สร้างความดีงามและสันติภาพในโลกนี้โดยมุ่งหวังความสุขในโลกหน้า และห้ามพฤติกรรมสุดโต่งหรือ ความก้าวร้าวซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหาย เช่นเดียวกับในด้านหลักการจัดระเบียบทางสังคม พบว่า ค าสอนอิสลามได้สั่งใช้ให้มุสลิมปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดี ยึดหลักการปฏิบัติในสิ่งที่อนุมัติ (ฮาลาล) และระมัดระวังตนจากสิ่งที่ศาสนาห้าม (ฮารอม) เพื่อท าให้สังคมเกิดความสงบสุขและมีความเป็น ระเบียบเรียบร้อยทั้งในเรื่องส่วนบุคคล ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ

2.1.3 วะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

ความเข้าใจเกี่ยวกับวะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลามถือเป็นปัจจัยส าคัญในการ ป้องกันความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นจากความเห็นต่างเกี่ยวกับหลักการของศาสนา และถือเป็นภารกิจที่

ผู้น าเสนอค าสอนอิสลามทุกคนจะต้องเข้าใจและสามารถพิจารณาความเหมาะสมเพื่อการน าหลักหลัก วะสะฏียะฮฺไปปรับใช้ในการน าเสนออิสลาม ควบคู่กับความรู้ และมารยาทที่ดีงาม ซึ่งนอกจากจะเป็น การป้องกันความสุดโต่งและความหย่อนยานแล้ว จะช่วยท าให้ผู้น าเสนอค าสอนอิสลามสามารถเปิดใจ รับฟังความเห็นต่าง และเข้าใจวิธีการจัดการความขัดแย้งและความแตกแยกในสังคม ดังที่นักวิชาการ หลายท่านได้น าเสนอไว้ (‘Abd Karīm Zaidān, 1976: 295-335; ‘Abd al-Rahmān Hasan Hanbakat al-Maydaniy, 1996: 64- 69; Yūsuf al-Qardāwiy, 2009: 101-113; Nāsir al-

‘Umar. n.d.: 292-293) ซึ่งผู้วิจัยขอน าเสนอโดยสรุปประเด็นส าคัญ ดังนี้

2.1.3.1 ด้านการน าเสนอหลักฐานและยอมรับการใช้สติปัญญาใคร่ครวญ

อิสลามให้ความส าคัญต่อการใช้สติปัญญาและความคิด โดยถือเป็นเครื่องมือในการ ท าความเข้าใจบทบัญญัติและหลักฐานที่ปรากฏในอัลกุรอานและอัลหะดีษ และเป็นเครื่องมือในการ วิเคราะห์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิตของผู้ศรัทธา ทั้งในเรื่องหลักการศาสนาและการ งานต่างๆ ในโลกนี้ อิสลามจึงไม่สนับสนุนการลอกเลียนแบบอย่างไร้ความคิด โดยเฉพาะการหลับหู

หลับตายึดถือความเชื่อและประเพณีที่ขัดแย้งต่อหลักการศาสนาซึ่งอาจเกิดจากการรับส่งต่อจาก บรรพบุรุษในอดีตหรือความคิดเห็นจากผู้ปกครอง

ผู้ท าหน้าที่น าเสนอหลักการอิสลามจะต้องยึดแนวทางสายกลางในการใช้สติปัญญา วิเคราะห์ความเข้าใจในหลักการศาสนาพร้อมกับน าเสนอตัวบทหลักฐานควบคู่กับความเข้าใจดังกล่าว เพื่อให้เกิดการใคร่ครวญอย่างครอบคลุม และจะต้องไม่สุดโต่งหรือละเลยความส าคัญในการน าเสนอ หลักฐาน โดยยึดถือเพียงด้านใดด้านหนึ่ง ดังปรากฏในท้ายของอายะฮฺที่ 111 สูเราะฮฺอัลบะเกาะ เราะฮฺ และอายะฮฺที่ 64 สูเราะฮฺ อันนัมล์ ว่า

َينِقِداَص ْمُتنُك نِإ ْمُكَناََْرُ َ اوُتاََ ُْْق (

:ٌرقبلا 111 :ْمنلا ، 66

)

ความว่า “จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) “จงน าหลักฐานของพวกท่านมา หากพวกท่านเป็น ผู้สัตย์จริง” (อัลบะเกาะเราะฮฺ: 111, อันนัมล์: 64)

และในอายะฮฺอื่น ซึ่งพระองค์ได้ตรัสถึงความส าคัญของการเรียกร้องให้ผู้รับการเชิญ ชวนใช้สติปัญญาในการท าความเข้าใจหลักการศาสนา และแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับสาเหตุที่บรรดาผู้

ปฏิเสธศรัทธาไม่ตอบรับการเชิญชวน อันเนื่องจากพวกเขาไม่ต้องการที่จะใช้ความคิดในเรื่องเหตุและ ผล ดังที่พระองค์ตรัสว่า

َأ َََءَبِآ ِهْيَلَع اَنْ يَفْلَأ اَم َُِبَّتَ ن ََْْ اوُلاَق َُّللَّا َلَزنَأ اَم اوُعِبَّتا ُمَُلَ َْيِق اَذِإَو َل ْمَُُؤَبِآ َناَك ْوَلَو

ْعَ ي َنوُدَتْهَ ي َلَو اًئْ يَش َنوُلِق (

:ٌرقبلا 171 )

ความว่า “และเมื่อได้ถูกกล่าวแก่พวกเขาว่า จงปฏิบัติตามสิ่งที่อัลลอฮฺได้ทรงประทาน ลงมาเถิด พวกเขาก็กล่าวว่า มิได้ เราจะปฏิบัติสิ่งที่เราได้พบว่า บรรดาบรรพบุรุษของ เราเคยปฏิบัติมาเท่านั้น และแม้ได้ปรากฏว่า บรรพบุรุษของพวกเขาไม่เข้าใจสิ่งใด และทั้งไม่ได้รับแนวทางอันถูกต้องก็ตามกระนั้นหรือ?” (อัลบะเกาะเราะฮฺ: 170)

จากอายะฮฺข้างต้น อัลลอฮฺ  ตรัสเกี่ยวกับคุณลักษณะของบรรดาบรรดาผู้ปฏิเสธ ว่า เมื่อพวกเขาได้รับการเชิญชวนให้ละทิ้งจากสิ่งที่พวกเขาหลงผิดหรือหยุดจากการด าเนินชีวิตที่โง่

เขลา พวกเขาก็จะปฏิเสธการเชิญชวน และไม่ยอมที่จะใช้สติปัญญาในการท าความเข้าใจหรือ

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 103-114)