• Tidak ada hasil yang ditemukan

ด้านการมีมารยาทดีงามและการเคารพความเห็นที่หลากหลาย

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 114-125)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.1.3 วะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

2.1.3.5 ด้านการมีมารยาทดีงามและการเคารพความเห็นที่หลากหลาย

เมื่อผู้น าเสนอหลักการอิสลามอยู่ท่ามกลางกลุ่มความเห็นที่หลากหลาย จ าเป็น จะต้องระมัดระวังตนจากการยึดติดกลุ่มหรือจ ากัดตนเองกับความคิดเห็น หรือส านักกฎหมายอิสลาม

38 หะดีษบันทึกโดย al-Tirmiziy หะดีษหมายเลข 3502 อัลอัลบานีย์ เราะฮิมฮุลลอฮฺ กล่าวว่า เป็นหะดีษหะสัน 39 หะดีษบันทึกโดย Muslim หะดีษหมายเลข 2720

ใดๆ หรือกลุ่มความเชื่อ กลุ่มเคลื่อนไหวอิสลาม หรือกลุ่มทางการเมือง จนเป็นเหตุให้เขาไม่สามารถ เปิดใจรับฟังหลักฐานหรือความเห็นต่างจากผู้อื่น และท าให้เขาปิดกั้นตนเองจากโอกาสในการศึกษา เพิ่มเติมและการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่าง ซึ่งความจริงแล้วเขาสามารถที่จะน าความ แตกต่างนั้นมาพิจารณา เพื่อให้ได้รับความคิดเห็นที่ใกล้เคียงกับความถูกต้องมากที่สุด (Yūsuf al-

Qardāwiy, 2009: 107) และน าเสนอความเข้าใจโดยใช้วิทยปัญญา เนื่องจากทุกกลุ่มต่างก็มีสิทธิใน การยึดถือความเข้าใจของตนเอง ผู้น าเสนอค าสอนจึงจ าเป็นจะต้องท าความเข้าใจเกี่ยวกับการน าวะ สะฏียะฮฺมาปรับใช้ท่ามกลางกลุ่มต่างๆ ด้วยความยุติธรรม ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสว่า

َُّللَّا َلَزنَأ اَِبِ َُنَمآ ُْْقَو ۖ ْمََُءاَوََْأ َِْبَّتَ ت َلَو ۖ َتْرِمُأ اَمَك ْمِقَتْساَو ۖ ُعْداَف َكِلََٰذِلَف  ِْم

َل ۖ ْمُكُلاَمْعَأ ْمُكَلَو اَنُلاَمْعَأ اَنَل ۖ ْمُكََُّرَو اَنُّ ََر َُّللَّا ۖ ُمُكَنْ يَ َ َلِدْعَِلِ ُتْرِمُأَو ۖ ،باَت ِك اَنَ نْ يَ َ َةَّجُح

ُيِْصَمْلا ِهْيَلِإَو ۖ اَنَ نْ يَ َ ََُمَْيَ َُّللَّا ۖ ُمُكَنْ يَ ََو (

ىروشلا : 15 )

ความว่า “ดังนั้นเพื่อการนี้แหละ เจ้าจงเรียกร้องเชิญชวนและด ารงมั่นอยู่ในแนวทาง ที่เที่ยงธรรมดังที่เจ้าได้รับบัญชา และอย่าได้ปฏิบัติตามอารมณ์ใฝ่ต่ าของพวกเขา และ จงกล่าวว่า ฉันได้ศรัทธาในสิ่งที่มีอยู่ในคัมภีร์ตามที่อัลลอฮฺทรงประทานลงมา และฉัน รับบัญชาให้ตัดสินระหว่างพวกท่านด้วยความเที่ยงธรรม อัลลอฮฺ คือ พระเจ้าของฉัน และพระเจ้าของพวกท่าน (การตอบแทน) การงานของฉันก็จะได้แก่ฉันและ (การ ตอบแทน) การงานของพวกท่านก็จะได้แก่พวกท่าน ไม่มีการโต้แย้งใด ๆ ระหว่าง พวกเรากับพวกท่าน อัลลอฮฺจะทรงรวบรวมพวกเราทั้งหมด และยังพระองค์คือการ กลับไป” (อัชชูรอ: 15)

อายะฮฺข้างต้น แสดงให้เห็นว่า พระองค์ได้ทรงแนะน าแนวทางในการน าเสนอหลักค า สอนอิสลามอย่างสันติ และทรงห้ามการยึดติดกลุ่มและการใช้อารมณ์ในการเชิญชวนสู่หลักการศาสนา และทรงสั่งใช้ให้ผู้น าเสนอหลักการอิสลามยึดมั่นในความยุติธรรม ดังที่ Ibn Jarir (Tafsir al-Tabri, 20/486)ได้อธิบายอายะฮฺนี้ว่า อัลลอฮฺ  ได้ทรงสั่งใช้ให้ท่านเราะสูล  ยึดหลักความยุติธรรมใน การตัดสินระหว่างกลุ่มต่าง ๆ และทรงเตือนให้ระวังการปฏิบัติตามอารมณ์ของบรรดากลุ่มที่หันเห ออกจากสัจธรรมและค าภีร์ที่ถูกประทานมาก่อนหน้านี้ และทรงใช้ให้ประกาศจุดยืนในเรื่องหลักความ ศรัทธาและการน้อมน าอัลกุรอานเป็นครรลองของชีวิต

โดยสรุปผลการศึกษาเกี่ยวกับวะสะฏียะฮฺในการน าเสนอค าสอนอิสลามข้างต้น พบว่า ความ เข้าใจเกี่ยวกับวะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม เป็นปัจจัยส าคัญในการรักษาแนวทางอัน เที่ยงธรรมของอิสลามและป้องกันความขัดแย้งในสังคมมุสลิม โดยเฉพาะการน าเสนออิสลาม ท่ามกลางความเห็นต่าง ซึ่งนอกจากจะเป็นการป้องกันความสุดโต่งและความหย่อนยานแล้ว จะช่วย

ท าให้ผู้น าเสนอค าสอนอิสลามสามารถเปิดใจรับฟังความเห็นต่าง และเข้าใจวิธีการจัดการความ ขัดแย้งที่อาจก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคม ซึ่งผู้น าเสนอหลักการอิสลามจะต้องปฏิบัติตนให้ถูกต้อง และมีความเหมาะสมบนพื้นฐานของแนวทางอิสลามสายกลาง ดังสรุปจากความเห็นของนักวิชาการ หลายท่าน (‘Abd Karīm Zaidān, 1976: 295-335; ‘Abd al-Rahmān Hasan Hanbakat al- Maydaniy, 1996: 64- 69; Yūsuf al-Qardāwiy, 2009: 101-113; Nāsir al-‘Umar. n.d.: 292- 293) ซึ่งผู้วิจัยสามารถจ าแนกองค์ประกอบเกี่ยวกับวะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม ออกเป็น 5 ด้าน ปรากฏดังแผนภูมิต่อไปนี้

แผนภูมิที่ 3 แสดงองค์ประกอบรายด้านของวะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

แผนภูมิที่ 3 แสดงให้เห็นว่า อิสลามมีค าสอนและมีแหล่งที่มาของศาสนาชัดเจน ผู้น าเสนอ หลักการอิสลามจะต้องเข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานของวะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลามใน รายด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1) มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องการน าเสนอหลักฐานและการใช้สติปัญญา เพื่อวิเคราะห์ประเด็นปัญหาต่าง ๆ และป้องกันความสุดโต่งที่จะเกิดขึ้นจากการยึดถือเพียงด้านใดด้าน หนึ่ง 2) สามารถน าเสนอหลักการอิสลามที่จะต้องยึดมั่นอุดมการณ์ควบคู่กับการค านึงถึงบริบทและ สภาพความเป็นจริงของผู้รับค าแนะน าเพื่อให้การเชิญชวนเกิดความสนใจและเป็นที่ยอมรับ เช่นเดียวกับการน าเสนออิสลามอย่างเป็นขั้นตอน ค านึงถึงความยืดหยุ่น ความแตกต่าง และความ หลากหลายของบุคคล 3) เข้าใจวิธีการสร้างแรงจูงใจเพื่อสนับสนุนความปรารถนาในการปฏิบัติความ ดีและการเตือนส าทับอย่างเหมาะสมเพื่อยุติพฤติกรรมที่ผิดต่อหลักการศาสนา 4) มีความรู้และ ความสามารถน าเสนอหลักการอิสลามอย่างครอบคลุมในทุกมิติ ทั้งมิติด้านจิตวิญญาณและร่างกาย มิติด้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติตน มิติด้านเศรษฐกิจและสังคม มิติด้านการเมืองและการ ปกครอง และมิติอื่น ๆ รวมถึงมิติของชีวิตหลังความตาย และ 5) ผู้น าเสนออิสลามจะต้องมีบุคลิกภาพ

วะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

ด้านการน าเสนอหลักฐานและยอมรับการใช้สติปัญญาใคร่ครวญ ด้านการยึดมั่นอุดมการณ์และการค านึงถึงสภาพความเป็นจริง ด้านการสร้างแรงจูงใจให้ปฏิบัติและการเตือนส าทับให้ระวังตัว ด้านการน าเสนอเนื้อหาและสาระครอบคลุมในทุกมิติของชีวิต ด้านการมีมารยาทดีงามและการเคารพความเห็นที่หลากหลาย

และมารยาทดีงามในการน าเสนอค าสอนอิสลาม เข้าใจบทบาทของตนเอง และมีความรอบรู้เกี่ยวกับ หลักการอิสลามและวิธีการน าเสนออิสลามท่ามกลางกลุ่มหรือความเห็นที่หลากหลาย สามารถเปิดใจ รับฟังความเห็นหรือหลักฐานที่แตกต่าง และมีความรักในการใฝ่รู้และใฝ่ศึกษาเพิ่มเติม รวมถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ความแตกต่างบนพื้นฐานของความถูกต้องและความเหมาะสม

2.1.4 ความจ าเป็นในการปรับใช้วะสะฏียะฮฺในสังคมมุสลิม

การศึกษาวิเคราะห์ความจ าเป็นในการปรับใช้วะสะฏียะฮฺในสังคมมุสลิมนั้น เห็นได้จากการ ให้ความส าคัญของวะสะฏียะฮฺซึ่งถูกการกล่าวถึงในแหล่งที่มาอันดับต้นของศาสนาอิสลามทั้งใน หลักฐานอัลกุรอานและอัลหะดีษ หลักมูลฐานอิสลาม หลักความเชื่อ หลักการปฏิบัติ ภาพรวมและ รายละเอียดปลีกย่อยต่าง ๆ ของศาสนาอิสลาม ซึ่งใครก็ตามที่ได้ศึกษาอัลกุรอานและอัลหะดีษเป็น อย่างดีก็จะพบว่า วะสะฏียะฮฺมีความส าคัญและความจ าเป็นต่อสังคมมุสลิมอย่างชัดเจน เนื่องจากมี

การกล่าวถึงเป็นจ านวนมากและมีลักษณะอ้างถึงหลักค าสอนของอิสลาม (Yūsuf al-Qardāwiy, 2009: 48) ดังเช่นตัวอย่างอายะฮฺอัลกุรอาน อัลหะดีษ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นว่า การด าเนินกิจกรรมของบุคคลและสังคมบนพื้นฐานของวะสะฏียะฮฺเป็นเรื่องที่

มีความส าคัญต่อสังคมมุสลิมนับตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ เนื่องจากเป็นแนวทางสายกลางที่ไม่สนับสนุนแนวคิดหัวรุนแรง ไม่ยอมรับใน เรื่องพฤติกรรมที่ขัดแย้งต่อหลักค าสอนของศาสนา เป็นแนวทางที่ห้ามปรามการยึดติดพวกพ้อง (ตะอัศศุบ) การยึดติดส านักกฎหมายอิสลาม (มัซฮับ) การยึดติดผู้น าหรือกลุ่ม และเตือนผู้ศรัทธาจาก พฤติกรรมเบี่ยงเบนและพฤติกรรมเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้องมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม

(‘Isām Sālih Ahmad Rājih, 2016: 33-47) ซึ่งผู้วิจัยขอน าเสนอภาพรวมความส าคัญและความ จ าเป็นในการปรับใช้วะสะฏียะฮฺในสังคมมุสลิมทั้งในด้านปัจเจกบุคลและสังคม ดังนี้

2.1.4.1 วะสะฏียะฮฺ คือ อุดมการณ์ในการขับเคลื่อนความคิดและความศรัทธาของ มุสลิม ท าให้เกิดการพิสูจน์สัจธรรมและความพยายามในการบรรลุถึงวิทยปัญญาในการด าเนินชีวิตบน แนวทางอันเที่ยงตรงผ่านบรรดาศาสนทูตที่อัลลอฮฺ ได้ทรงแต่งตั้งให้พวกเขาท าหน้าที่แจ้งข่าวดีและ ตักเตือนประชาชาติของพวกเขา และทรงชี้น าทางที่ถูกต้องให้แก่พวกเขา พระองค์ตรัสว่า

َْيِرِّشَبُّم ًلاُسُّر ُسُّرلا َدْعَ َ ٌةَّجُح َِّللَّا ىَلَع ِساَّنلِل َنوُكَي َّلاَئِل َْيِرِذنُمَو

اًزيِزَع َُّللَّا َناَكَو ِْ

اًميِكَح ( :ءاسنلا 165 )

ความว่า “คือบรรดาเราะสูลในฐานะผู้แจ้งข่าวดี และในฐานะผู้ตักเตือน เพื่อว่ามนุษย์

จะได้ไม่มีหลักฐานใด ๆ อ้างแก้ตัวแก่อัลลอฮฺได้ หลังจากบรรดาเราะสูลเหล่านั้น และอัลลอฮฺเป็นผู้ทรงเดชานุภาพ ผู้ทรงปรีชาญาณ” (อัลนิสาอ์: 165)

اًروُفَك اَّمِإَو اًرِكاَش اَّمِإ َْيِبَّسلا ُهاَنْ يَدََ ََِّإ (

:ناسنلإا 3

)

ความว่า “แท้จริงเราได้ชี้แนะแนวทางให้แก่เขาแล้ว บางทีเขาก็เป็นผู้กตัญญู และบาง ทีเขาก็เป็นผู้เนรคุณ” (อัลอินสาน: 3)

การน าความถูกต้องและยึดวะสะฏียะฮฺมาปรับใช้ในชีวิต จึงช่วยให้สังคมสามารถ แยกแยะระหว่างความจริงและความเท็จ ระหว่างความดีและความชั่ว ระหว่างพฤติกรรมที่ดีและ พฤติกรรมที่ชั่วร้าย และระหว่างแนวคิดการพัฒนาฟื้นฟูกับแนวคิดสร้างความเสียหายซึ่งจะชี้น าบุคคล และสังคมสู่ความหลงผิด ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า

َطْيَّشلا ِتاَوُطُخ َِْبَّتَ ي َْمَو ِناَطْيَّشلا ِتاَوُطُخ اوُعِبَّتَ ت َل اوُنَمآ َْيِذَّلا اَهُّ يَأ َيَ ُرُمَْيَ ُهَّنِإَف ِنا

َلْوَلَو ِرَكنُمْلاَو ِءاَشْحَفْلِبِ

ِّْْم مُكنِم َٰىَكَز اَم ُهُتَْحَْرَو ْمُكْيَلَع َِّللَّا ُْْضَف ََّللَّا َِّْكََٰلَو اًدَََأ ،دَحَأ

ٌميِلَع ٌَيَِْ َُّللَّاَو ُءاَشَي َْم يِّكَزُ ي (

رونلا : 81 )

ความว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย พวกเจ้าอย่าคิดตามทางเดินของชัยฎอน และผู้ใด ติดตามทางเดิมของชัยฎอน แท้จริงมันจะใช้ให้ท าการลามกและความชั่ว และหาก มิใช่ความโปรดปรานของอัลลอฮฺแก่พวกเจ้า และความเมตตาของพระองค์แล้ว ก็จะ ไม่มีผู้ใดเลยหมู่พวกเจ้าบริสุทธิ์ แต่อัลลอฮฺทรงให้ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์บริสุทธิ์

และอัลลอฮฺเป็นผู้ทรงได้ยินผู้ทรงรอบรู้” (อัลนูร: 21)

َع ْمُكَِ َقَّرَفَ تَ ف َُْبُّسلا اوُعِبَّتَ ت َلَو ۖ ُهوُعِبَّتاَف اًميِقَتْسُم يِطاَرِص اَذَََٰ َّنَأَو ْمُكِلََٰذ ِهِليِبَس ْ

َنوُقَّ تَ ت ْمُكَّلَعَل ِهَِ مُكاَّصَو (

ماعنلِا : 153 )

ความว่า “และแท้จริง นี้คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติตามมันเถิด และ อย่าปฏิบัติตามหลายๆ ทาง เพราะมันจะท าให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของ พระองค์ นั่นแหละที่พระองค์ได้สั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะย าเกรง”

(อัลอันอาม: 153)

2.1.4.2 ความสุดโต่งและความหย่อนยานเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกิดความรุนแรง ความแตกแยกและความรู้สึกถูกบังคับขู่เข็ญ และส่งผลให้เกิดการละเลยต่อเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจ ละทิ้งการแสดงความภักดีต่ออัลลอฮฺ และมีการการสอดแทรกความคิดเห็นที่ไม่ถูกต้องในหลักค า สอนอิสลาม ในขณะที่การยึดวะสะฏียะฮฺหรือแนวทางสายกลางในการเชิญชวนสู่อัลลอฮฺ จะท าให้

มนุษย์เกิดความปรารถนาในการปฏิบัติคุณงามความดี และเป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้พวกเขาสามารถ รักษาความเป็นบ่าวของตนเองต่อพระเจ้า โดยไม่รู้สึกล าบากหรือเหน็ดเหนื่อย เนื่องจากวะสะฏียะฮฺ

เป็นแนวทางสายกลางที่อ านวยต่อการปฏิบัติความดีงาม ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 114-125)