• Tidak ada hasil yang ditemukan

นิยามเชิงวิชาการ

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 91-97)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.1.3 วะสะฏียะฮฺในการน าเสนอหลักการอิสลาม

2.1.1.2 นิยามเชิงวิชาการ

นักวิชาการหลายท่านได้น าเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับค าศัพท์นี้ โดยอ้างถึงค านิยาม ที่ปรากฏในอายะฮฺอัลกุรอานหลายอายะฮฺและในหลายหะดีษ (Nasir ‘Abd al-Karīm al-‘Aql, 2008: 1-7; Yūsuf al-Qardāwiy, 2009: 26-32) ดังนี้

1) วะสะฏียะฮฺ หมายถึง ُلدَعْلَا อ่านว่า อัลอัดล์ หมายถึง ความยุติธรรม ความ เสมอภาค ความเท่าเทียมกัน และเสมอกัน และหมายถึง อัลค็อยรียะฮฺ หรือ ةَّيِْيَْلخَا อ่านว่า อัลค็อยรี

ยะฮฺ หมายถึง ความดีงามและความเมตตากรุณา ปรากฏในอายะฮฺที่ 143 สูเราะฮฺ อัลบะเกาะเราะฮฺ

(اًطَسَو ًةَّمُأ ْمُكاَنْلَعَج َكِلََٰذَكَو) ซึ่งค า “اًطَسَو” อ่านว่า วะสะฏ็อน ในอายะฮฺนี้หมายถึง “ ًلْدَع” อ่าน ว่า อัดลัน สอดคล้องกับค านิยามที่ท่านเราะสูล ได้อธิบายไว้ ปรากฏในรายงานจากอะบู ซะอีด อัล คุดรีย์  ว่า

َعَ ت َُّللَّا ُلوُقَ يَ ف ،ُهُتَّمُأَو ٌحوُن ُءيَِيَ " :َمَّلَسَو ِهْيَلَع ُالله ىَّلَص َِّللَّا ُلوُسَر َلاَق((

َََّْْلَ َ ََْْ ، ََا

َل َنوُلوُقَ يَ ف ْمُكََّْلَ َ ََْْ :ِهِتَّمُِلِ ُلوُقَ يَ ف ، ِّبَر ْيَأ ْمَعَ ن ُلوُقَ يَ ف ُلوُقَ يَ ف ،،َِِّن ِْْم َََءاَج ا َم

َّنَأ ُدَهْشَنَ ف ،ُهُتَّمُأَو َمَّلَسَو ِهْيَلَع ُالله ىَّلَص ٌدَّمَُمُ :ُلوُقَ يَ ف َكَل ُدَهْشَي َْْم :،حوُنِل َوََُو ،َ،َّلَ َ ْدَق ُه

اَدَهُش اوُنوُكَتِل اًطَسَو ًةَّمُأ ْمُكاَنْلَعَج َكِلَذَكَو :ُهُرْكِذ ََّْج ُهُلْوَ ق َع َء

ِساَّنلا ىَل ُطَسَولاَو

ُلْدَعلا ))

24

ความว่า “ท่านเราะสูล เล่าว่า ท่านนบีนูห์  และอุมมะฮฺของเขาจะถูกน ามา เข้าเฝ้าอัลลอฮฺ  ในวันกิยามะฮฺ และพระองค์ก็จะตรัสถามเขาว่า ท่านได้ท าหน้าที่

เผยแผ่ศาสนาหรือไม่ ท่านนบีนูห์  ตอบว่า ครับ ผมได้ท าหน้าที่เผยแผ่ศาสนาแล้ว โอ้ผู้ทรงอภิบาล และพระองค์ก็ตรัสถามอุมมะฮฺของเขาต่อว่า เขาได้ท าหน้าที่เผยแผ่

ศาสนาแก่พวกท่านแล้วใช่ไหม บรรดาอุมมะฮฺของเขาก็จะตอบว่า ไม่ ไม่มีศาสนทูตท่าน ใดถูกส่งมายังพวกเราเลย พระองค์ก็ตรัสถามท่านนบีนูห์  อีกครั้งว่า ใครจะเป็น พยานให้แก่ท่าน เขาก็ตอบว่า มุหัมมัด  และอุมมะฮฺของเขา ท่านเราะสูล  กล่าว ต่อว่า ด้วยเหตุนี้ เราจะเป็นพยานว่า ท่านนบีนูห์  ได้ท าการเผยแผ่ศาสนาแล้ว อัน เป็นไปตามพระด ารัสในอายะฮฺที่ว่า “และในท านองเดียวกัน เราได้ให้พวกเจ้าเป็น ประชาชาติที่เป็นกลาง เพื่อพวกเจ้าจะได้เป็นสักขีพยานแก่มนุษย์ทั้งหลาย” (ส่วนหนึ่ง จากอายะฮฺ 143: อัลบะเกาะเราะฮฺ) “طَسَولا” อ่านว่า อัลวะสัฏ หมายถึง ความเป็น กลาง ณ ที่นี้ จึงมีความว่า “ ُلْدَعلا” อ่านว่า อัลอัดล์ ซึ่งหมายถึง ความยุติธรรม”

Ibn Jarīr al-Tabriy (3/242) อธิบายความหมายค าว่า “اًطَسَو”อ่านว่า วะ สะฏ็อน ในอายะฮฺ หมายถึง “طيرفتلاو طارفلإا ينَ طُّسَوَّ تلا” อ่านว่า อัตตะวัสสุฏ บัยนะ อัลอิฟร็อฏ วัตตัฟรีฏ หมายถึง การท าให้อยู่ตรงกลางระหว่างการเกินความเหมาะสมกับความหย่อนยาน ในขณะ ที่ Ibn Kathīr (1/275) กล่าวว่า “اًطَسَو” ในอายะฮฺดังกล่าวมีความหมายถึง “دَوْجَْلِا راَيِْلخا” อ่านว่า อัลคิญาร อัลอัญวัด ซึ่งหมายถึง ตัวเลือกที่ดีที่สุด มีคุณภาพมากที่สุด ในขณะที่ Abū al-Fidāa Ismāīl ‘Umar Kathīr al-Qurayshiy (1998 :327) กล่าวว่า “اًطَسَو” อ่านว่า วะสะฏ็อน หมายถึง ดีที่สุด ยุติธรรมที่สุด และมีความเป็นกลาง

Nasir ‘Abd al-Karīm al-‘Aql (2008: 1) กล่าวว่า ในสูเราะฮฺอัลบะเกาะ เราะฮฺ อายะฮฺ 143 นั้น อัลลอฮฺ  ได้ทรงท าให้ประชาชาตินี้เป็นประชาชาติที่มีความเป็นวะสะฏียะฮฺ

ซึ่งหมายถึง เป็นประชาชาติที่มีคุณธรรม ความยุติธรรม ความดีเลิศ และเป็นประชาชาติที่ดีที่สุด ดังที่

ท่านเราะสูล  ได้อธิบายความโดดเด่นของกลุ่ม (ญะมาอะฮฺ) หนึ่งในประชาชาตินี้ไว้ว่า )) ِّقَلحا ىَلَع َْيِرَِاَظ ِتَِّمُأ ِْْم ٌةَفِئاَط ُلاَزَ ت َل((

25

24 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 3339

25 หะดีษบันทึกโดย al-Tirmidhiy หะดีษหมายเลข 2229 อัลอัลบานีย์กล่าวว่า เป็นหะดีษเฎาะอีฟ

ความว่า “กลุ่มหนึ่งจากประชาชาติของฉันจะยังคงยืนหยัดบนสัจธรรม”

Nasir ‘Abd al-Karīm al-‘Aql (2008: 1) กล่าวว่า พวกเขา คือ บรรดา ผู้รักษาแบบฉบับของท่านเราะสูล  (อะฮฺลุสุนนะฮฺ) ด ารงมั่นบนหลักความถูกต้อง และมีความเป็น สายกลางในเรื่องการงานของศาสนา ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องการศรัทธา การปฏิบัติ ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และจุดยืนของพวกเขาที่ปลอดภัยจากความสุดโต่งและความหย่อนยานในเรื่องต่างๆ เช่นเดียวกับที่ Aliy Muhammad Muhammad al-Salābiy (2001: 5) กล่าวว่า อายะฮฺนี้

สอดคล้องกับอายะฮฺที่ 110 สูเราะฮฺอาลิอิมรอน ซึ่งพระองค์ได้อธิบายคุณลักษณะความเป็นเลิศของ ประชาชาตินี้ในอายะฮฺอื่นว่า

 َنوُنِمْؤُ تَو ِرَكنُمْلا َِْع َنْوَهْ نَ تَو ِفوُرْعَمْلِبِ َنوُرُمَْتَ ِساَّنلِل ََْجِرْخُأ ،ةَّمُأ َْيَْخ ْمُتنُك َّللَِّبِ

( نارمع لآ :

ةيلآا ْم ضعَ

111 )

ความว่า "พวกเจ้านั้น (บรรดาผู้ที่ศรัทธาต่อท่านเราะสูล) เป็นประชาชาติที่ดียิ่งซึ่งถูกให้

อุบัติขึ้นส าหรับมนุษยชาติ โดยที่พวกเจ้าใช้ให้ปฏิบัติสิ่งที่ชอบ และห้ามมิให้ปฏิบัติสิ่งที่

มิชอบ และศรัทธาต่ออัลลอฮฺ” (อาลิอิมรอน: ส่วนหนึ่งจากอายะฮฺ 110)

2) วะสะฏียะฮฺ หมายถึง “طَسْوَلَِا” อ่านว่า อัลเอาสัฏ หมายถึง บนสุด และ

“ىَلعَْلَِا” อ่านว่า อัลอะอฺลา หมายถึง ต าแหน่งที่สูงสุด ดังปรากฏในหะดีษที่ ว่า

َ َ اَم ِْينَتَجَرَد ُُّْك ،ِهِليِبَس ِفِ َْيِدَِاَجُمْلِل َُّللَّا اَََّدَعَأ ،،ةَجَرَد َةَئاِم ِةَّنَلجا ِفِ َّنِإ((

اَمَك اَمُهَ نْ ي

ُهَّنِإَف ،َسْوَدْرِفلا ُهوُلَسَف ََّللَّا ُمُتْلَأَس اَذِإَف ، ِضْرَلِاَو ِءاَمَّسلا َْينََ

َلجا ىَلْعَأَو ،ِةَّنَلجا ُطَسْو َأ ِةَّن

،

))ِةَّنَلجا ُراَْنَْأ ُرَّجَفَ ت ُهْنِمَو ،َِْْحَّْرلا ُشْرَع ُهَقْوَ فَو 26

ความว่า “แท้จริงในสรวงสวรรค์นั้นมีทั้งหมด 100 ชั้น ซึ่งอัลลอฮฺได้เตรียมมันไว้ส าหรับ บรรดาผู้ที่ต่อสู้เสียสละในหนทางของพระองค์ โดยในระหว่างชั้นนั้นจะมีความห่างกัน เสมือนกับความห่างระหว่างฟ้าและแผ่นดิน ดังนั้นแล้ว เมื่อท่านทั้งหลายขอพร ต่ออัลลอฮฺ ก็จงขอสวรรค์ชั้นฟิรดาวส์เถิด เพราะมันคือชั้นสูงสุด (ประเสริฐที่สุด) และ เบื้องบนสุดของมันคือบัลลังค์ของพระองค์ (ผู้ทรงเมตตา) และจากสวรรค์ชั้นนี้ มีต้นน้ า ของแม่น้ าหลายสายไหลออกมา”

26 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 7423

3) วะสะฏียะฮฺ หมายถึง “يِدَّرلاَو دَّيَْلجا َينََ ِءيَّشلا ُراَبِتْعِا” แปลว่า การพิจารณา สิ่งหนึ่งระหว่างดีกับไม่ดี ดังที่อิบนุ อับบาส  ได้อธิบายถึงสาเหตุการประทานอายะฮฺที่ 89 สูเราะฮฺ

อัลมาอิดะฮฺ ว่า

ِش ِهيِف ًتًوُق ُهَلََْأ ُتوُقَ ي ُُْجَّرلا َناَكَو ،ٌةَعَس ِهيِف ًتًوُق ُهَلََْأ ُتوُقَ ي ُُْجَّرلا َناَك((

: ََْلَزَ نَ ف ،ٌٌَّد

}ْمُكيِلََْأ َنوُمِعْطُت اَم ِطَسْوَأ ِْْم{

( :ٌدئالما 98 ) ))

27

ความว่า “(เนื่องจากเรื่องราวที่เคยเกิดขึ้น) ว่า มีชายคนหนึ่งได้เลี้ยงอาหาร (ดูแล) ครอบครัวของเขาเป็นอย่างดี เนื่องจากเขาเป็นผู้มีความร่ ารวย และชายอีกคนหนึ่งได้

เลี้ยงอาหาร (ดูแล) ครอบครัวของเขาในสภาพที่แร้นแค้น เนื่องจากเขาเป็นผู้มีความ ล าบากเป็นอย่างมาก” จึงได้มีการประทานอายะฮฺ ( ُكيِلََْأ َنوُمِعْطُت اَم ِطَسْوَأ ِْْم ْم ) (อัลมาอิดะฮฺ: 89) ความว่า “จากปานกลาง (ความพอดี) ของสิ่งที่พวกเจ้าให้เป็นอาหาร แก่ครอบครัวของพวกเจ้า””

นักอรรถาธิบายอัลกุรอานบางท่านได้ให้ความหมายค า “ ِطَسْوَأ” อ่านว่า เอาสัฏ ในอายะฮฺข้างต้น จึงหมายถึง การท าให้เกิดความยุติธรรมหรือท าให้ดีที่สุด ภายใต้ความหมายเดียวกับ

ค า “دوجلِاو رايلخاو ةلادعلا” อ่านว่า อัลอะดาละฮฺ วัล คิญาร วะลอัญวัด ซึ่งหมายถึง การให้ความ

ยุติธรรม และการเลือกสิ่งที่ดีที่สุด

4) วะสะฏียะฮฺ หมายถึง “ ِهِتَيِفاَحَو ِءيَّشلا َفِْرَط َْينََ اَم” แปลว่า อยู่ระหว่างสอง ด้านของสิ่งหนึ่งหรืออยู่ในต าแหน่งระหว่างสองข้างของสิ่งนั้น ดังที่อัลลอฮฺ  ได้ตรัสว่า

َينِتِناَق َِِّللَّ اوُموُقَو ىَطْسُولا ٌَِلاَّصلاَو ِتاَوَلَّصلا ىَلَع اوُظِفاَح :ٌرقبلا(

839 )

ความว่า “พวกเจ้าจงรักษาบรรดาละหมาด และละหมาดที่อยู่กึ่งกลาง และจงยืน ละหมาดเพื่ออัลลอฮฺโดยนอบน้อม” (อัลบะเกาะเราะฮฺ: 238)

Ibn Kathīr (1/268) กล่าวว่า จากอายะฮฺ ค าว่า “ىَطْسُولَا” อ่านว่า อัลวุสฏอ หมายถึงระหว่างกลาง ซึ่งอธิบายได้ว่า คือ ละหมาดอัศริ เพราะเป็นละหมาดที่มีช่วงเวลาอยู่ระหว่าง กลางของละหมาดทั้ง 5 เวลา ถึงแม้ว่าบางกลุ่มจะมีทรรศนะเห็นต่างกันในเรื่องการอธิบาย ก าหนดเวลา เช่น มีทรรศนะว่า หมายถึง ละหมาดศุบห์ โดยให้เหตุผลว่า ช่วงเวลาของการละหมาด ศุบห์นั้นเป็นช่วงเวลาที่อยู่ระหว่างการละหมาดในภาคกลางคืนภาคกลางกลางวัน

27 หะดีษบันทึกโดย Ibn Mājah หะดีษหมายเลข 2113 อัลอัลบานีย์ เราะฮิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะห์

เช่นเดียวกับการให้ความหมายในหะดีษซึ่งรายงานจากท่านอะบูฮุร็อยเราะฮฺ  เกี่ยวกับท่านเราะสูล  ได้เคยกล่าวไว้ว่า

ََْلَْلخا اوُّدُسَو ، َماَمِلإا اوُطِّسَو((

28))

ความว่า “ท่านทั้งหลายจงให้อิหม่ามอยู่กึ่งกลาง และจงปิดช่องว่าง (ในแถว)”

5) วะสะฏียะฮฺ หมายถึง “فِرظلا طسوتلا” อ่านว่า อัตตะวัสสุฏ อัศศ็อรฟีย์

หมายถึง ใจกลาง ตรงกลาง หรือจุดกึ่งกลาง ดังที่ปรากฏในหะดีษที่ว่า

ِةَقْلَْلحا َطْسَو َسَلَج َْْم ََْعَل ِالله َلوسر َّنإ((

))

29

ความว่า “แท้จริงท่านเราะสูล ได้สาปแช่งบุคคลที่นั่งในต าแหน่งกึ่งกลางของวง สนทนา (หะละเกาะฮฺ)”

6) วะสะฏียะฮฺ หมายถึง “ةماقتسلا” อ่านว่า อัลอิสติกอมะฮฺ หมายถึง ความ มั่นคงและความเสมอต้นเสมอปลายในหลักการศาสนา ไม่เอนเอียงหรือหันเหออกจากสัจธรรมที่

ถูกต้อง (Yūsuf al-Qardāwiy, 2009: 27-28) เป็นการอธิบายอายะฮที่ว่า ( َميِقَتْسُمْلا َطاَرِّصلا ) หมายถึง ทางอันเที่ยงตรง และเป็นทางสายกลางที่มั่นคงอยู่ท่ามกลางแนวทางที่หลงผิด ซึ่งจาก ความหมายนี้เอง อิสลามได้สั่งใช้ให้ผู้ศรัทธาขอพรจากอัลลอฮฺ  ให้เขาอยู๋ในหนทางที่เที่ยงตรงนี้

อย่างน้อยวันละ 17 ครั้ง ในทุกเราะกะอะฮฺของละหมาด 5 เวลา ปรากฏในสูเราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ ว่า َميِقَتْسُمْلا َطاَرِّصلا ََِدَْا َلَع ِبوُضَْْمْلا ِْيَْغ ْمِهْيَلَع ََْمَعْ نَأ َْيِذَّلا َطاَرِص .

َينِّلاَّضلا َلَو ْمِهْي

لا(

ةتحاف : 6 - 7 )

ความว่า “ขอพระองค์ทรงแนะน าพวกข้าพระองค์ซึ่งทางอันเที่ยงตรง. (คือ) ทางของ บรรดาผู้ที่พระองค์ได้ทรงโปรดปรานแก่พวกเขา มิใช่ในทางของพวกที่ถูกกริ้ว และ มิใช่ทางของพวกที่หลงผิด” (อัลฟาติหะฮฺ: 6-7)

นอกจากนี้ Nasir ‘Abd al-Karīm al-‘Aql (2008: 8-9) ได้กล่าวถึงตัวอย่าง ค า ภาษาอาหรับที่มีความหมายตรงข้ามกับค าวะสะฏียะฮฺหลายค า เช่น

28 หะดีษบันทึกโดย Abu Dāwud หะดีษหมายเลข 681 อัลอัลบานีย์ เราะฮิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า เป็นหะดีษเฎาะอีฟ

29 หะดีษบันทึกโดย al-Tirmiziy หะดีษหมายเลข 2753; Abu Dawud หะดีษหมายเลข 4826 อัลอัลบานีย์ เราะฮิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า เป็นหะดีษเฎาะอีฟ

1) “ ُّوُّلُْْلَا”อ่านว่า อัลฆุลูว์วุ หมายถึง การสุดโต่ง หรือการเกินความเป็นจริง เช่น ในสูเราะฮฺ อันนิสาอ์ อายะฮฺที่ 171 และ สูเราะฮฺ อัลมาอิดะฮฺ อายะฮฺที่ 77 ซึ่งอัลลอฮฺ  ได้ตรัส เตือนบรรดาชาวคัมภีร์ ว่า

ْمُكِنيِد ِفِ اوُلَْْ ت َل ( 

:ءاسنلا 171 :ٌدئالما ؛ 77

)

ความว่า “จงอย่าปฏิบัติให้เกินความเป็นจริงในศาสนาของพวกท่าน” (อัลนิสาอ์:

171; อัลมาอิดะฮฺ: 77)

และหะดีษซึ่งรายงานจากอิบนุ อับบาส  กล่าวว่า ท่านเราะสูล  กล่าวว่า ِفِ ُّوُلُْْلا ُمُكَلْ بَ ق َناَك َْْم َكَلََْأ ُهَّنِإَف ،ِْيِّدلا ِفِ َّوُلُْْلاَو ْمُكَّيَِإ ُساَّنلا اَهُّ يَأ َيَ((

))ِْيِّدلا

30

ความว่า “โอ้มนุษย์ทั้งหลาย พวกท่านจงระวังการเกินความเป็นจริงในเรื่องศาสนา เพราะแท้จริงแล้ว กลุ่มชนก่อนหน้าพวกท่านได้เคยประสบความหายนะมาแล้ว อัน เนื่องจากพวกเขาปฏิบัติการเกินความเป็นจริงในเรื่องศาสนา”

2) “ ُطاَرْ ف ْلإَا” อ่านว่า อัลอิฟรอฏ หมายถึง การท าเกินความเหมาะสม 3) “ ُطْيِرْفَّ تلَا” อ่านว่า อัตตัฟรีฏ หมายถึง การละเลย หรือการปล่อยโอกาส 4) “ ُءاَفُْلجَا” อ่านว่า อัลญุฟาอ์ หมายถึง ฟอง หรือของที่ไม่มีคุณค่า ดังในหะดีษ เกี่ยวกับสิทธิของอัลกุรอาน ซึ่งท่านเราะสูล  กล่าวว่า

ِا ْ ق((

َر ُؤ ْلا او َو َنآر ُق َم ُل ْعا َِ او َو ، ِه َع اوُفََْ َل ْن ُه َو ، َ ت َل ُلْْ

ِف او ْي ِه،

َو َْتَ َل ُك ُل َِ او َو ، ِه َت َل ْكَتْس ِث ُر او

َِ ِه

31)) ความว่า “ท่านทั้งหลาย จงอ่านอัลกุรอานเถิด จงถือน าอัลกุรอานมาปฏิบัติ และจง อย่าท าให้มันเป็นสิ่งที่ไม่มีคุณค่า อย่าปฏิบัติต่ออัลกุรอานเกินความเป็นจริง จงอย่า ว่าจ้างกันเพื่อตักตวงรายได้จากอัลกุรอาน และจงอย่าให้มากจนเกินไป”

5) “ ُمْلُّظلَا” อ่านว่า อัซซุลมุ หมายถึง ความไม่ยุติธรรม หรือความผิดอย่างมหันต์

ด้วยเหตุนี้จึงมีการกล่าวถึง การตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺ  ในอัลกุรอานว่า เป็นความไม่ยุติธรรม ดังที่

พระองค์ตรัสว่า

ٌميِظَع ٌمْلُظَل َكْرِّشلا َّنِإ :نامقل(

13 )

30 หะดีษบันทึกโดย Ibn Taymiyah หะดีษหมายเลข 3029 อัลอัลบานีย์ เราะฮิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะห์

31 หะดีษบันทึกโดย Ahmad หะดีษหมายเลข 15568; Abu Yula: 1518; al-Tahawiy: 4296 อัลอัลบานีย์ เราะฮิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะห์

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 91-97)