• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความเห็นต่างในยุคของเศาะฮาบะฮฺและตาบิอีน

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 158-193)

ในความเห็นต่างในอิสลาม

2.2.3 สาเหตุของความเห็นต่างในอิสลาม

2.2.3.2 ความเห็นต่างในยุคของเศาะฮาบะฮฺและตาบิอีน

เมื่อท่านเราะสูล  ได้เสียชีวิต บรรดาเศาะฮาบะฮฺยังคงให้ความส าคัญในเรื่องการ ท่องจ าอัลกุรอานและแลกเปลี่ยนความรู้ที่ตนได้รับ โดยอ้างถึงความรู้ที่ตนได้จดจ าหรือได้บันทึกไว้

เช่นเดียวกับแบบอย่างของท่านเราะสูล  ถึงแม้ในช่วงแรกของการเผยแผ่อิสลาม พวกเขาจะไม่ได้

รับการอนุญาตให้บันทึก เพราะความกังวลว่าจะมีการปะปนกับตัวบทอัลกุรอาน จนกระทั่งเมื่อพวก เขาได้รับการอนุญาต พวกเขาจึงได้บันทึกแบบอย่างของท่านเราะสูล  ไม่ว่าจะเป็นค าพูด การ กระท า และการยอมรับของท่านในช่วงเวลา เหตุการณ์ สถานที่ หรือบุคคลที่หลากหลาย ทั้งนี้

เนื่องจากไม่มีเศาะฮาบะฮฺคนใดได้อยู่ร่วมกับท่านได้ตลอดเวลา ท าให้พวกเขาได้จดจ าและบันทึก เรื่องราวของท่านเราะสูล  เป็นจ านวนมากหรือน้อยแตกต่างกัน (‘Abdullāh bin ‘Abd al- Musin al-Turākiy, 2010: 25) ดังที่ อบู ฮุร็อยเราะฮฺ  ได้กล่าวว่า

َ س وَهيلعَ للَّاَى ل صَ اللهَ لو س رَنعَ ثي د لحاَ ر ث ك يَ، ة ر ـي ر هَ ب أَ نأَ نو م ع ز ـتَ م ك نإ((

َ للَّا وَ، م ل

َ ًل ج رَ ت ن كَ، د ع و ملاـ

َ مَى لعَ م ل س وَهيلعَ للَّاَى ل صَ اللهَ لو س رَ م د خ أَ،اًني ك س م

َ، ني ط بَ ء ل

لاَ ناك و

َ لعَ ما ي قلاَ م ه ل غ ش يَ را ص نلاَ ت نا ك وَ قا و سلبَ ق ف صلاَ م ه ل غ ش يَ نو ر جا ه مـ

َ، م لِا و م أَى

َ ل س وَهيلعَ للَّاَى ل صَ اللهَ لو س رَ لاق ف

َ ن ـيَ ن ل ـفَ ه ب و ـثَ ط س ب ـيَن مَ م

َ ني مَ ه ع سََاًئيشَى س

َ ت ع سََاًئيشَ تي س نَام فَ، لِإَ ه ت م م ضَ ثمَ، ه ثي د حَى ض قَ تّحَ بي و ـثَ ت ط س ب ـف هنمَ ه

))

70

ความว่า “ความจริงแล้ว ตามที่พวกท่านได้อ้างว่า อบู ฮุร็อยเราะฮฺ เป็นบุคคลที่มี

รายงานเกี่ยวกับเรื่องราวของท่านเราะสูล  จ านวนมาก ขอสาบานต่ออัลลอฮฺ มัน คือ สัญญา เมื่อฉันเคยเป็นคนจนคนหนึ่ง ฉันได้ท าหน้าที่รับใช้ท่านเราะสูล  เพียง หวังว่าจะได้อาหารอิ่มท้องของฉัน (ในขณะที่) เวลานั้น ชาวมุฮาญิรีน ก็ต่างยุ่งอยู่กับ การปรบมือ (เพื่อเชิญชวนให้คนซื้อสินค้า) ในตลาด และชาวอันศอร ก็ยุ่งกับการงาน เพื่อแสวงหาทรัพย์สินของพวกเขา ดังนั้น ท่านเราะสูล  จึงได้กล่าวแก่ฉันว่า “ใคร ก็ตามที่กางผ้าของเขา เขาจะไม่ลืมสิ่งใดที่เขาได้ยินจากฉัน” ฉันจึงได้กางผ้าของฉัน จนกระทั่งเมื่อท่านเราะสูล  ได้พูดเสร็จ ฉันก็รวบผ้าเข้าหาตัวฉัน (หมายถึง ได้

จดจ ามัน) เหตุนี้เอง ฉันจึงไม่ลืมสิ่งใดที่ได้ยินมันจากท่านเราะสูล ”

‘Abd al-Fattāh Abū Ghaddāh (1986: 15-16) กล่าวว่า พึงทราบเถิดว่า แท้จริง ท่านเราะสูล  ไม่ใช่นักกฎหมายหรือนักวิชาการ ท่านเองไม่เคยค้นคว้าหรือวิเคราะห์ประเด็นปัญหา ใดๆ เกี่ยวกับศาสนาเหมือนที่พวกเขาได้ท าการค้นคว้าด้วยความพยายามเพื่อจะหาหลักฐานมา

70 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 2350; Muslim หะดีษหมายเลข 2492

สนับสนุนความเห็นของตนเอง และท่านเราะสูล  ก็ไม่เคยตั้งสมมติฐานในการวิจัย เพื่อหาค าตอบ ให้แก่บรรดาเศาะฮาบะฮฺ หากแต่ว่า เมื่อท่านเอาน้ าละหมาด บรรดาเศาะฮาบะฮฺก็จะดูแบบอย่างนั้น แล้วปฏิบัติตาม เมื่อท่านปฏิบัติละหมาด พวกเขาก็จะดูวิธีการละหมาดและปฏิบัติตามที่พวกเขาเห็น โดยที่ท่านไม่ได้อธิบายให้ยุ่งยากว่า อะไรเป็นองค์ประกอบหลัก (รุก่น) อะไรคือมารยาท (อะดาบ) เช่นเดียวกับเรื่องการปฏิบัติศาสนกิจอื่นๆ ซึ่งจะพบว่า เศาะฮาบะฮฺจ านวนหนึ่งเท่านั้นที่จะสอบถาม เกี่ยวกับรายละเอียดเหล่านั้น

ด้วยเหตุนี้เอง เมื่อเข้าสู่ยุคของบรรดาเศาะฮาบะฮฺหรือยุคที่ไม่มีเราะสูล  พวกเขา จึงต้องให้ค าปรึกษาในเรื่องหลักการศาสนากันเอง อาศัยการตัดสินชี้ขาดของเคาะลีฟะฮฺผู้อาวุโส และ แลกเปลี่ยนความเข้าใจที่ได้จากการบันทึกและการจดจ า โดยเฉพาะจากเศาะฮาบะฮฺที่เคยอยู่ใกล้ชิด กับท่านเราะสูล  ในเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อน ามาอฺธิบายในประเด็นปัญหาศาสนาที่มีความเห็น ต่างกัน ซึ่งจากการศึกษา ผู้วิจัยพบว่า สาเหตุของความเห็นต่างในยุคนี้เกิดจากความแตกต่างกันใน เรื่องการยึดถือตัวบทและการยอมรับหลักฐาน การมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการน าหลักฐานไป ปรับใช้ และความเห็นต่างกันในประเด็นปัญหาศาสนาที่ไม่พบหลักฐาน ซึ่งท าให้พวกเขาต้องวินิจฉัย ปัญหาด้วยตนเองหรือต้องปรึกษาหารือกัน (‘Abd al-Fāttāh Abū Ghaddah, 1986: 15-33; ‘Abd al-Salām al-Sulaymāniy, 1993: 158-161; ‘Abdullāh bin ‘Abd al-Musin al-Turākiy, 2010: 27-38) ดังกล่าวจึงเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกิดความเห็นต่าง ซึ่งผู้วิจัยจะขอน าเสนอ รายละเอียด ดังนี้

1) การยึดถือตัวบทและการยอมรับหลักฐานแตกต่างกัน หมายถึง ความเห็นต่าง เกี่ยวกับหลักการศาสนาของบรรดาเศาะฮาบะฮฺซึ่งเกิดจากการยึดถือตัวบทและการยอมรับหลักฐาน แตกต่างกัน เนื่องจากความสับสนในเรื่องการจดจ าหรือการลืมตัวบทหลักฐาน การไม่รู้ว่ามีหลักฐาน หรือรู้หลักฐานในภายหลัง และการขาดความมั่นใจหรือไม่มีความเชื่อถือต่อผู้ให้หลักฐาน ตัวอย่างดังนี้

1.1) ความสับสนในเรื่องการจดจ าหรือการลืมตัวบทหลักฐาน ท าให้การ ปฏิบัติหรือการวินิจฉัยประเด็นศาสนาแตกต่างกัน เช่น ความเห็นของ ท่านอุมัร บิน อัลค็อฏฏอบ  ในเรื่องข้อตัดสินเกี่ยวกับการท าตะยัมมุมหรือการใช้ดินฝุ่นสะอาดลูบใบหน้าและมือทั้งสองแทนการ อาบน้ าวาญิบ ดังรายงานจาก อับดุลเราะห์มาน บิน อับซา  จากพ่อของเขาเล่าว่า

مأَ ٌرا م عَ لاق فَ. ل ص تَلَ لاق فًَءا مَ د جأَ م ل ـفَ ت ب ـن جأَ نّإَ لاق فَ، ر م عَى تأَ ًل ج رَ نأ((

َا

َ ر ك ذ ت لاَ ير مأَا

َ نأَا مأفَ،ًءا مَ د نََ م ل ـفَا ن ـب ـن جأفَ ة ي ر سَفيَ ت ن أوَ نَأَ ذإَ، يْ ن م ؤ مـ

َ، ل ص تَ م ل ـفَ ت

َ نَّإَ م لسوَهيلعَ للَّاَى ل صَُّبنلاَ لاق فَ، ت ي ل صوَ با ُّتُّلاَفيَ ت ك ع م ت ـفَ نَأَا م أو

َ كي ف ك يَ ناكَا

َ ي د يبَ ب ر ض تَ نأ اق فَ ك ي ف كوَ، ك ه جوَام بَ ح س تََ ثمَ، خ ف ـن ـتَ ثمَ، ض رلاَ ك

َ للَّاَ ق تاَ ر م عَ ل

َ ت ي ل و ـتَامَ كي ل و ـنَ ر م عَ لاق فَ ةياورَفيوَ. هبَ ث د ح أَ لمَ ت ئ شَ نإَ لاقَ را م عَا

ََو

َفي

َ ـن جأَ نّإَ لاق فَ ر م عَى تأَ ًل ج رَ نأَ ةياور

َوَ ثي د لحاَ قا سوَ.ًءا مَ د جأَ م ل ـفَ ت ب

َ لاقَ، هي فَ دا ز

لاَ ير مأَاَ ٌرا م ع

َ حأَهبَ ث د ح أَلَ ك ق حَن مَ ي ل عَ للَّاَ ل ع جَام لَ ت ئ شَ نإَ يْ ن م ؤ مـ اًد

))

71

ความว่า “แท้จริงได้มีชายคนหนึ่งมาหา ท่านอุมัร  แล้วเขากล่าวว่า (ฉันจะท า อย่างไร) ฉันมีญุนูบและไม่พบน้ า (เพื่ออาบน้ าวาญิบ) ท่านอุมัร  กล่าวว่า “จงอย่า ละหมาด” ดังนั้น อัมมาร  กล่าวว่า “ท่านจ าเหตุการณ์นั้นได้ไหม โอ้ผู้น าของ บรรดาผู้ศรัทธา ในตอนที่ฉันและท่านอยู่ในสงคราม (ซึ่งในวันที่) พวกเรามีญุนูบ แล้ว เราก็ไม่พบน้ า ปรากฏว่าท่านไม่ได้ละหมาด ส่วนฉันก็ได้เอาตัวเองคลุกกับฝุ่น (แทน การอาบน้ าวาญิบ) แล้วท าละหมาด ท่านเราะสูล  จึงกล่าวว่า “แท้จริง มันเป็น การพอเพียงแล้วที่ท่านจะท า (ตะยัมมุม) ด้วยการเอามือทั้งสองข้างของท่านตบฝุ่น (แล้วยกมือขึ้นมา) จากนั้นก็เป่าฝุ่นที่มือทั้งสองข้าง แล้วใช้มือทั้งสองข้างลูบใบหน้า และ (ท าเช่นนั้น) ลูบฝ่ามือทั้งสองข้างของท่าน” ท่านอุมัร  กล่าวว่า “จงย าเกรง ต่ออัลลอฮฺ  โอ้อัมมาร” อัมมาร  กล่าวว่า “หากท่านไม่ประสงค์ ฉันจะไม่น า เรื่องนี้ไปเล่าให้ใครฟัง” ในบางรายงานระบุว่า ท่านอุมัร  กล่าวว่า “เราเห็นด้วย กับสิ่งที่ท่านคิด”และในบางรายงานระบุ เล่าเรื่องชายที่มาถามเกี่ยวกับเรื่องญุนูบ เช่นเดียวกับตัวบทนี้ และ อัมมาร  กล่าวว่า “โอ้ผู้น าของบรรดาผู้ศรัทธา หาก ท่านไม่ประสงค์ในเรื่องที่อัลลอฮฺ  ได้ท าให้มันเป็นสิทธิของท่านเหนือฉัน ฉันก็จะ ไม่น าเรื่องนี้ไปเล่าให้ใครฟัง””

เช่นเดียวกับตัวอย่างเหตุการณ์ที่ อับดุลลอฮฺ บิน อุมัร  ได้กล่าวว่า ท่าน เราะสูล  เคยท าอุมเราะฮฺ ในเดือนเราะญับ อันเนื่องจากการลืมของเขา ซึ่งในเวลาต่อมา ท่านหญิง อาอิชะฮฺ (เราะฎิยัลลอฮุอันฮา) ก็ได้กล่าวปฏิเสธต่อเรื่องดังกล่าวว่า ท่านเราะสูล  ไม่เคยท าอุม เราะฮฺ ในเดือนเราะญับ ดังหะดีษรายงานจาก มุญาฮิด บิน ญับริน (เราะฮิมะฮุลลอฮฺ) ว่า

لاَ ير بُّزلاَ نبَ ة و ر عوَ نَأَ ت ل خ د((

َ اللهَ يض رَ ر م عَ نبَ للَّاَ دبعَا ذ إ فَ، د ج س مـ

ٌَس لا جَا مه نعَ

لاَفيَ نوُّل ص يٌَس نََا ذإوَ، ة ش ئا عَ ة ر ج حَلىإ

َ س فَ لاقَ،ى حُّضلاَ ة ل صَ د ج س مـ

َنعَ ُا ن ل أ

َ فَ، م تِ ل ص

َ لسوَهيلعَ اللهَى لصَ للَّاَ لوس رَ ر م ت عاَ م كَ هلَ لاقَ ثمَ.ٌة ع د بَ لاق

َ،اًع ـب رأَ لاقَ؟ م

لاَ م أَ ة ش ئا عَ نا ن ت ساَا ن ع سَوَ لاقَ.هيلعَ د ر ـنَ نأَا ن ه ر ك فَ، ب ج رَفيَ ن ها د حإ

َفيَ يْ ن م ؤ مـ

َاَ ة و ر عَ لاق فَ، ة ر ج لحا لاَ م أَاَ، ُا م أ

عَوبأَ لوقيَامَ يْ ع م س تَ لأَ، يْ ن م ؤ مـ

َ؟ ن حَ رلاَ دب

َ تا ر م عَ ع ب رأَ ر م ت عاَ م لسوَهيلعَ اللهَى لصَ للَّاَ لوس رَ نإَ لوقيَ لاقَ؟ لوقيَامَ ت لاق

َ،

71 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 347; Muslim หะดีษหมายเลข 368

َ ن حَ رلاَ دبعَ بأَ للَّاَ م ح ر ـيَ ت لاقَ، ب ج رَفيَ ن ها د حإ

َ م عَ ر م ت عاَامَ،

َ، ُ د ها شَوهوَ لإًَة ر

))ُّط قَ ب ج رَفيَ ر م ت عاَامو

َ 72

ความว่า “ฉันและอุรวะฮฺ บิน อัซซุเบร ได้เข้ามัสยิด (พบว่า) ในขณะนั้น อับดุลลอฮฺ

บิน อุมัร  ก าลังนั่งอยู่ใกล้กับห้องของท่านหญิงอาอิชะฮฺ (เราะฎิยัลลอฮุอันฮา) ขณะเดียวกัน ก็มีคนจ านวนมากก าลังละหมาดดุฮากันในมัสยิด มุญาฮิด บิน ญับริน กล่าวว่า เราจึงได้ถาม อับดุลลอฮฺ บิน อุมัร  เกี่ยวกับการละหมาดของคนกลุ่มนั้น เขาตอบว่า “มันคือ บิดอะฮฺ” จากนั้น เขา (มุญาฮิด บิน ญับริน) ได้ถามต่อว่า ท่าน เราะสูล  ได้เคยท าอุมเราะฮฺกี่ครั้ง เขาตอบว่า “ 4 ครั้ง และหนึ่งในนั้น คือ อยู่ใน เดือนเราะญับ” ดังนั้น พวกเราไม่ต้องการโต้แย้งค าพูดของอับดุลลอฮฺ บิน อุมัร  (ในขณะนั้น) เราได้ยินเสียงแปรงฟันของท่านหญิงอาอิชะฮฺ (เราะฎิยัลลอฮุอันฮา) จากในห้องของนาง อุรวะฮฺ จึงกล่าวว่า “โอ้ผู้เป็นแม่ของบรรดาผู้ศรัทธา ท่านได้ยินที่

อบู อับดุรเราะห์มาน (อับดุลลอฮฺ บิน อุมัร ) ได้กล่าวไหม” ท่านหญิงอาอิชะฮฺ

(เราะฎิยัลลอฮุอันฮา) กล่าวว่า “เขากล่าวว่าอะไร” อุรวะฮฺ กล่าวว่า “เขากล่าวว่า แท้จริงท่านเราะสูล  ได้เคยท าอุมเราะฮฺ 4 ครั้ง และหนึ่งในนั้น คือ อยู่ในเดือน เราะญับ” ท่านหญิงอาอิชะฮฺ (เราะฎิยัลลอฮุอันฮา) กล่าวว่า “ขออัลลอฮฺ  ทรง เมตตาแก่ อบู อับดุรเราะห์มาน ท่านเราะสูล  ไม่เคยท าอุมเราะฮฺครั้งใด นอกจาก เขาจะเดินทางไปด้วย และท่านเราะสูล  ก็ไม่เคยท าอุมเราะฮฺในเดือนเราะญับ เลย””

1.2) การไม่รู้ว่ามีหลักฐานหรือรู้ว่ามีหลักฐานในภายหลัง เช่น เรื่องข้อตัดสิน (ฮูก่ม) เกี่ยวกับการขออนุญาต ซึ่ง ท่านอุมัร บิน อัลคอฏฏอบ  ไม่เคยรู้หลักฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้มา ก่อน ในรายงานจาก อบู ซะอีด อัลคุดรีย์  ว่า

َ م عَ لاق فَ ع ج ر ـفَ، ًلو غ ش مَ ُ د ج وَ ه نأ ك فَ،ًثً ل ثَ ر م عَى لعَ ن ذ أ ت ساَ،ى سو مَ ب أَ نأ((

َ لم أَ ر

َ د فَ،هلَاو ن ذ ئاَ، س ي ـقَ نبَ اللهَ دبعَ ت و صَ ع م س ت

َ ل حََامَ لاق فَ،هلَ ي ع

َ، ت ع ـن صَامَى لعَ ك

َ ل ط نا فَ ج ر خ فَ، ن ل ع ـف لَ و أَ،ًة ن ي ـبَاذهَى لعَ ن مي ق ت لَ لاقَاذبَ ر م ؤ ـنَا ن كَ نَإَ لاق

َ س ل مََلىإَ ق

و ب أَ ما ق ـفَ، نَ ر غ ص أَ لإَاذهَى لعَ كلَ د ه ش يَلَ اولاق فَ، را ص نلاَ ن م

َ سَ

َ ر م ؤ ـنَا ن كَ لاق فَ دي ع

72 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 347; Muslim หะดีษหมายเลข 368

عَ نّا لِ أَ، م ل س وَهيلعَ للَّاَى ل صَ اللهَ لوس رَ ر م أَن مَاذهَ ي ل عَ ي ف خَ ر م عَ لاق فَاذب

َه ن 73 ))َ قا و سلبَ ق ف صلا

ความว่า “แท้จริง อบู มูซา อัลอัชอะรีย์  ได้เคยขออนุญาต (เข้าบ้าน) ของท่าน อุมัร บิน อัลค็อฏฏอบ  (โดยให้สลามและรออนุญาตจนกระทั่ง) ถึงสามครั้ง เหมือนกับเขาเห็นว่า ท่านอุมัร  ได้ยุ่งอยู่กับการท างาน เขาจึงได้กลับไป ท่าน อุมัร  กล่าวว่า “พวกท่านไม่ได้ยินเสียงของ อับดุลลอฮฺ บิน ก็อยส์ หรือ พวก ท่านจงอนุญาตให้เขาเข้ามา ดังนั้น อบู มูซา อัลอัชอะรีย์  จึงได้ถูกตามตัวมา ท่านอุมัร  จึงได้สอบถามเขาว่า “อะไรที่ท าให้ท่านถึงท าเช่นนั้น (คือ กลับไปโดย ไม่รอ)” เขากล่าวว่า “พวกเราเคยถูกท่านเราะสูล  สั่งใช้เช่นนี้” (ด้วยความแปลก ใจที่ท่านอุมัร  ไม่เคยรู้เรื่องนี้ มาก่อนและเกรงว่า อบู มูซา อัลอัชอะรีย์  น่าจะ เข้าใจอะไรผิด) ท่านอุมัร  จึงกล่าวว่า “แน่นอนว่า ท่านจะต้องตรวจสอบความ ถูกต้องในเรื่องนี้ หรือไม่ฉันก็จะต้องปฏิบัติตามด้วย” ดังนั้น ท่านอุมัร  จึงออกไป ที่พบกับกลุ่มชาวอันศอรกลุ่มหนึ่ง (เพื่อจะสอบถามเกี่ยวกับสถานะของหะดีษบทนี้) พวกเขากล่าวว่า “ไม่มีใครคนใดยืนยันความถูกต้องในเรื่องนี้ให้แก่ท่านได้ นอกจากผู้

มีอายุน้อยที่สุดในกลุ่มเรา” ดังนั้น อบู ซะอีด อัลคุดรีย์  จึงได้ยืนขึ้น แล้วกล่าว ว่า “เราได้ถูกสั่งใช้ให้ท าเช่นนี้” ท่านอุมัร  กล่าวว่า “มันเป็นค าสั่งใช้ที่ ท่านอุมัร ไม่เคยได้ยินจากท่านเราะสูล  เพราะการปรบมือ (ยุ่งอยู่กับการค้าขาย) ที่ตลาดได้

ท าให้ฉันไม่รู้เรื่องนี้เลย””

1.3) การขาดความมั่นใจหรือไม่มีความเชื่อถือต่อผู้ให้หลักฐาน เช่น กรณีการ ปฏิเสธของ ท่านอุมัร บิน อัลค็อฏฏอบ  ต่อรายงานของ ฟาฏิมะฮฺ บินติ ก็อส (เราะฎิยัลลอฮุอันฮา) ในเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับนางหลังจากที่นางถูกหย่า 3 ครั้ง (เฏาะลาก บาอิน) โดยเล่าว่า ท่านเราะสูล

 ได้สั่งให้นางย้ายออกจากบ้านสามีไปอยู่ที่บ้านของอิบนุ อุมมิ มักตูม  ตามค าสั่ง ซึ่งรายงานนี้ได้

เป็นเรื่องเห็นต่างกันระหว่างพวกเขา เนื่องจากท่านอุมัร บิน อัลค็อฏฏอบ  ไม่เชื่อถือและปฏิเสธต่อ ค าพูดของนาง ดังรายงานจาก อัลอัสวัด บิน ยะซีด (เราะฮิมะฮุลลอฮฺ) ได้เล่าเหตุการณ์ขณะที่เขาอยู่

ในมัสยิดอัลกูฟะฮฺ และได้ยิน อัชชะอฺบีย์ หรือ อามิร บิน ชะรอหีล (เราะฮิมะฮุลลอฮฺ) พูดถึงเรื่องนี้ว่า

َ لَ، م ل س وَهيلعَ للَّاَى ل صَ اللهَ لوس رَ نأ((

َ ف ـنَ ل وَ نَ ك سَا لَِ ل ع يََ مـ

َااف كَ د و سلاَ ذ خ أَ ثمَ،ًة ق

َ اللهَ با ت كَ ك تُّ نَلَ ر م عَ لاقَ،اذهَ ل ث بمَ ث د تَُ ك ل ـي وَ لاق فَ،هبَ ه ب ص ح فَ،ىًص حَن م

َ

73 หะดีษบันทึกโดย al-Bukhāriy หะดีษหมายเลข 2062; Muslim หะดีษหมายเลข 429

Dalam dokumen in Three Southern Border Provinces (Halaman 158-193)