• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

2. จัดท าคู่มือการใช้โมเดล

105

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ทรงคุณวุฒิ

ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อแนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาโมเดล ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นที่มีต่อองค์ประกอบและหลักการของโมเดล

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของโมเดล ส่วนที่ 5 ความคิดเห็นที่มีต่อโมเดลในภาพรวม

2.2 น าแบบประเมินเพื่อรับรองโมเดล ไปหาค่าดัชนีความสอดคล้องโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 9 คน (รายชื่อผู้เชี่ยวชาญอยู่ในภาคผนวก ค) เพื่อพิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาที่มี

ต่อข้อค าถามแต่ละข้อ พร้อมทั้งความเหมาะสมของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โดยแบบสอบถามที่

น าไปใช้ได้จะต้องมีค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค าถามแต่ละข้อตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไปซึ่งหลักเกณฑ์การ พิจารณาให้คะแนนก าหนดไว้ ดังนี้

+1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ข้อนั้น 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ข้อนั้น -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบไม่วัดจุดประสงค์ข้อนั้น

น าข้อมูลที่ได้มาหาค่าความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence หรือ

IOC) โดยค านวณจากสูตร

N R

=

IOC ∑

เมื่อ

∑ R

แทน ผลรวมของคะแนนการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญ

โดยผลจากการน าแบบประเมินร่างโมเดลจากผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 9 คน พิจารณา ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ในระดับ 0.80

3. น าแบบประเมินรับรองโมเดลฯ กลับมาปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยระยะที่ 4

1. ผู้วิจัยด าเนินการจัดท าคู่มือการใช้งานโมเดล (คู่มือการใช้งานโมเดลฯ ภาคผนวก ก) แล้ว ท าการจัดส่งคู่มือการใช้งานโมเดลการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยเกม มิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและด้านทักษะการคิดส าหรับนักศึกษาวิทยาลัย ชุมชน พร้อมด้วยแบบประเมินเพื่อรับรองโมเดล ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 คน (รายชื่อผู้เชี่ยวชาญอยู่

ในภาคผนวก ค)

2. ตรวจสอบข้อมูลการรับรองโมเดลการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ที่

ขับเคลื่อนด้วยเกมมิฟิเคชัน ที่ได้รับกลับมาโดยละเอียดก่อนน าไปวิเคราะห์ข้อมูล 3. บันทึกและวิเคราะห์ข้อมูล

106 ผลการวิจัยในระยะที่ 4 การรับรองโมเดลการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐานการ เรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดส าหรับนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน ผู้วิจัยได้น าเสนอรายละเอียดไว้ใน บทที่ 4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1.สถิติพื้นฐาน

1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) 1.2 ค่าเฉลี่ย ( ̅)

1.3 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation ; S.D.) 2. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ

2.1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลแบบทดสอบ 2.2 การหาค่าความเที่ยงตรง (Validity)

N

= R

IOC ∑

เมื่อ IOC แทน ความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับวัตถุประสงค์

∑R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญ

2.3 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ทดสอบประสิทธิผลของบทเรียนบนเว็บ

การวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนบนเว็บโดยใช้วิธีตามแนวคิดของ ฮัฟแลนด์ อ้างอิงโดย ไชยยศ เรืองสุวรรณ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2552) ในการหาค่าดัชนีประสิทธิผล (The Effectiveness Index : E.I.) ดังนี้

E.I. =

คะแนนเต็ม - คะแนนเฉลี่ ยก่อนเรียน ยก่อนเรียน คะแนนเฉลี่

- ยหลังเรียน คะแนนเฉลี่

เมื่อ E.I. แทน ดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนบนเครือข่าย 2.4 การหาค่าความยากง่าย (Difficulty) ของแบบทดสอบ โดยใช้สูตร ดังนี้

P=NR

เมื่อ P แทน ระดับความยากง่าย

R แทน จ านวนผู้เรียนที่ตอบถูกทั้งหมด

107 N แทน จ านวนผู้เรียนทั้งหมด

2.5 การหาค่าอ านาจจ าแนก (Discrimination) ของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนราย ข้อ โดยใช้สูตร ดังนี้

2

N R

D RU L หรือ

U L U

R R D R

เมื่อ

D

แทน อ านาจจ าแนก

RU แทน จ านวนผู้เรียนที่ตอบถูกในกลุ่มเก่ง RL แทน จ านวนผู้เรียนที่ตอบถูกในกลุ่มอ่อน N แทน จ านวนผู้เรียนทั้งหมด

2.6 การค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้การ ค านวณตามวิธีของ (Kuder–Richardson : KR-20) ใช้สูตรดังนี้

เมื่อ

r

tt แทน สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น

k

แทน จ านวนข้อสอบในแบบทดสอบ

p

แทน สัดส่วนของคนที่ตอบแบบทดสอบได้ถูกต้อง

q

แทน สัดส่วนของคนที่ตอบแต่ละข้อผิด(q1p) S2t แทน ความแปรปรวนของคะแนน

2.7 สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ t-test (Independent Samples) โดยใช้สูตร ดังนี้

t =

2 2 2 1 2 1

2 1

n S n S

x x

; df = n1n22

เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤต x1 แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มควบคุม

x2 แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มทดลอง

1 2

1 t

tt S

pq k

r k

108 S12 แทน ค่าความแปรปรวนของกลุ่มควบคุม

S22 แทน ค่าความแปรปรวนของกลุ่มทดลอง n1 แทน จ านวนของกลุ่มควบคุม

n2 แทน จ านวนของกลุ่มทดลอง df แทน ชั้นความเป็นอิสระ

109

Garis besar

Dokumen terkait