• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอนและนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ ในภาคการศึกษา ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 รวมทั้งสิ้นจ านวน 14,801 คน โดยแบ่งเป็นครูผู้สอน จ านวน 2,016 คน และ นักศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา จ านวน 12,785 คน

ตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนและนักศึกษาหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชนทั่ว ประเทศ รวมทั่งสิ้นจ านวน 576 คน โดยจ าแนกเป็น ครูผู้สอน จ านวน 192 คน และนักศึกษา จ านวน 384 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multistage Stage sampling) ดังนี้

ขั้นที่ 1 แบ่งประชากรออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ข้าราชการครู และกลุ่ม ที่ 2 นักศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา

ขั้นที่ 2 แบ่งประชากรทั้งสองกลุ่มออกตามภูมิภาคที่วิทยาลัยชุมชนสังกัดอยู่

ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ดังตารางที่...

ตารางที่ 7 การแบ่งประชากรทั้งสองกลุ่มออกตามภูมิภาค

ล าดับที่ ภูมิภาค จ านวน (แห่ง) วิทยาลัยชุมชน

1 ภาคเหนือ 5 แม่ฮ่องสอน, น่าน, แพร่, ตาก, พิจิตร

2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 หนองบัวล าภู, บุรีรัมย์, มุกดาหาร, ยโสธร

3 ภาคกลาง 4 อุทัยธานี, ตราด, สระแก้ว, สมุทรสาคร

4 ภาคใต้ 7 ระนอง, พังงา, ยะลา, ปัตตานี, สตูล,

นราธิวาส, สงขลา

81 จากการพิจารณาข้อมูลตามตารางที่ 7 พบว่าวิทยาลัยชุมชนแต่ละภูมิภาพมีจ านวนไม เท่ากัน ซึ่งวิทยาลัยชุมชนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับภาคกลางมีจ านวน 4 แห่งเท่ากัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการจับสลากกลุ่มตัวอย่างวิทยาลัยชุมชนที่สังกัดภูมิภาคเหนือกับภาคใต้ให้ได้วิทยาลัย ชุมชนในภูมิภาคละ 4 แห่งเพื่อให้ได้จ านวนเท่ากันทุกภูมิภาค ผลปรากฏดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 การสุ่มตัวอย่างวิทยาลัยชุมชนตามภูมิภาค

ล าดับที่ ภูมิภาค จ านวน (แห่ง) วิทยาลัยชุมชน

1 ภาคเหนือ 4 แม่ฮ่องสอน, แพร่, ตาก, พิจิตร

2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 หนองบัวล าภู, บุรีรัมย์, มุกดาหาร, ยโสธร

3 ภาคกลาง 4 อุทัยธานี, ตราด, สระแก้ว, สมุทรสาคร

4 ภาคใต้ 4 พังงา, ยะลา, สตูล, นราธิวาส,

ขั้นที่ 3 เลือกจับสลากกลุ่มตัวอย่างโดยคัดเลือกแบบเจาะจง กลุ่มครูผู้สอนให้ได้

วิทยาลัยชุมชนละ 12 คน และกลุ่มนักศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา วิทยาลัยละ 24 คน ได้ตัวอย่างที่ใช้

ในการวิจัยทั้งสิ้น จ านวน 576 คน

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบส ารวจการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ ต้องการเพื่อพัฒนาโมเดล ซึ่งมีวิธีการ ขั้นตอนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือดังต่อไปนี้

2.1 น าประเด็นที่ได้จากการศึกษาตามแบบบันทึกรายการเชิงสังเคราะห์ ในขั้นตอน ที่ 1 มาสร้างแบบส ารวจการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการเพื่อพัฒนาโมเดลการเรียน การสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้

ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะกระบวนการคิดส าหรับนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน ผู้วิจัยได้สร้างแบบส ารวจ ให้ครอบคลุมวัตถุปกระสงค์ของการวิจัยและประเด็นที่เกี่ยวข้องที่ได้จากการศึกษา ได้แบบส ารวจที่มี

ทั้งหมด 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบส ารวจ ส่วนที่ 2 สภาพปัจจุบัน ปัญหาและ ความต้องการ เพื่อพัฒนาโมเดลการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยเกม มิฟิเคชันฯ และ ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

2.2 ก าหนดคุณลักษณะของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้วิจัยได้ก าหนดคุณลักษณะของ

ผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบเครื่องมือ โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 9 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้านๆ ละ 3 คน ดังนี้ ด้านที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ด้านที่ 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการ วิจัย และ ด้านที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอน ดังนี้

ด้านที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จ านวน 3 คน ได้แก่

82 1) รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ อาจารย์ประจ าสาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช คุณวุฒิ

ทางการศึกษา ปริญญาเอก ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ปริญญา โท ครุศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาไทย Email : taweewat.wat@stou.ac.th

2) รองศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร อาจารย์ประจ าสาขาวิชาเทคโนโลยี

การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎี

บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี

การศึกษา ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต การมัธยมศึกษา วิชาเอกการสอนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ E-mail : issaraka@kku.ac.th

3) รองศาสตราจารย์ ดร.จารุณี ซามาตย์ อาจารย์ประจ าสาขาวิชาเทคโนโลยี

การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎี

บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี

การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต วิชาเอกระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Email: scharu@kku.ac.th

ด้านที่ 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย จ านวน 3 คน ได้แก่

1) รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด อาจารย์ประจ าภาควิชาวิจัยและ พัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาเอก สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปริญญาโท สาขาวิชาการวัดและ ประเมินผล วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ปริญญาตรี การมัธยมศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร Email: boonchom.s@msu.ac.th

2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน อาจารย์ประจ าภาควิชาวิจัย และพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญา เอก สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาโท สาขาวิชาการวัดผล การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปริญญาตรี เอกการประถมศึกษา โทการวัดผลการศึกษา (คุรุ

ทายาท) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Email: songsak.p@msu.ac.th

3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ เรือนนะการ อาจารย์ประจ าภาควิชา วิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาเอก ปรัญญาดุษฎีบัณฑิต วิชาเอกสถิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาโท สถิติ

ศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกสถิติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต วิชาเอก สถิติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Email: prasert.rua@msu.ac.th

83 ด้านที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอน จ านวน 3 คน ได้แก่

1) รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม อาจารย์ประจ าภาควิชา หลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญา เอก การศึกษาดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปริญญาโท วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต ชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต ชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ ศึกษาศาสตร์บัณฑิต แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Email: prasart.n@msu.ac.th

2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล อาจารย์ประจ าสาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาเอก การศึกษาดุษฎีบัณฑิต วิชาเอกการศึกษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปริญญา โท ครุศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการศึกษานอกระบบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี

การศึกษาบัณฑิต วิชาเอกจิตวิทยาการแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Email : chanoknart.boo@stou.ac.th

3) ดร.สุภาวดี อิสณพงษ์ รองผู้อ านวยการวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ คุณวุฒิ

ทางการศึกษาปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปริญญา ตรี ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกการวัดผลการศึกษา วิทยาลัยครูนครราชสีมา Email :

com_brcc@hotmail.com

2.3 ก าหนดประเด็นที่จะตั้งข้อค าถามในการสร้างแบบส ารวจสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการเพื่อพัฒนาโมเดลฯ ให้ครอบคลุมทุกประเด็นที่เกี่ยวข้องน าเสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษา พิจารณา แล้วน ามาจัดท าแบบสอบถามฉบับร่าง ผู้วิจัยได้ก าหนดประเด็นเพื่อสร้างข้อค าถามทั้งหมด 70 ข้อ ดังนี้

1) ประเด็นพิจารณาด้านโครงสร้างพื้นฐาน จ านวน 20 ข้อ 2) ประเด็นด้านรูปแบบการจัดการเรียนการสอน จ านวน 10 ข้อ 3) ประเด็นด้านการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน จ านวน 10 ข้อ 4) ประเด็นด้านเกมมิฟิเคชั่น จ านวน 10 ข้อ

5) ประเด็นด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต จ านวน 10 ข้อ 6) ประเด็นด้านการพัฒนาทักษะการคิด จ านวน 10 ข้อ

2.4 ติดต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อน าแบบส ารวจไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง และท าการประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามแต่ละข้อกับ จุดประสงค์หรือเนื้อหา (Index of Item-Objective Congruence หรือ IOC)

84 2.5 ผู้วิจัยรวบรวมเครื่องมือที่ได้ส่งไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบกลับคืน พิจารณาข้อ ค าถามที่ค่า IOC ที่ค านวณได้มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 ซึ่งถือว่า มีสอดคล้องเป็นข้อค าถามที่เป็น ตัวแทนลักษณะของสิ่งที่ต้องการจะวัดและน าไปเป็นข้อค าถามจริง ส่วนข้อค าถามที่มีค่าดัชนีต่ ากว่า 0.5 เป็นข้อค าถามที่ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าไม่สอดคล้อง จึงตัดทิ้งไปได้ข้อค าถามที่น าไปใช้ได้ ทั้งหมด 48 ข้อ ดังนี้

1) ประเด็นพิจารณาด้านโครงสร้างพื้นฐาน จ านวน 15 ข้อ 2) ประเด็นด้านรูปแบบการจัดการเรียนการสอน จ านวน 10 ข้อ 3) ประเด็นด้านการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน จ านวน 5 ข้อ 4) ประเด็นด้านเกมมิฟิเคชั่น จ านวน 6 ข้อ

5) ประเด็นด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต จ านวน 6 ข้อ 6) ประเด็นด้านการพัฒนาทักษะการคิด จ านวน 6 ข้อ

2.6 จัดท าต้นฉบับของเครื่องมือที่ครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว และต้องตรวจทานเพื่อ พิสูจน์อักษรอีกรอบก่อนน าไปใช้จริง

Garis besar

Dokumen terkait