• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

3. องค์ประกอบของโมเดล

Husen and Postlethwaite (To en H n T Ne ille o le h i e 4 ได้อธิบายถึงองค์ประกอบของโมเดลไว้ว่ามี 4 องค์ประกอบ ดังนี้

1. โมเดลสามารถน าไปสู่การท านายผลที่ตามมา สามารถทดสอบ หรือสังเกตได้

2. โมเดลมีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่อธิบายปรากฏการณ์เรื่องนั้น หรือปรากฎ กลไกลเชิงสาเหตุที่ก าลังศึกษาและอธิบายเรื่องที่ก าลังศึกษา

23 3. โมเดลช่วยจินตนาการสร้างความคิดรวบยอดความสัมพันธ์ของสิ่งที่ก าลังศึกษา หรือช่วยสืบเสาะความรู้

4. โมเดลมีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างมากกว่าความสัมพันธ์เชิงเชื่อมโยง วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2553) สรุปองค์ประกอบของโมเดลตามแนวคิดของ Brown and Moberg (1980) ที่ได้สังเคราะห์จากแนวคิดเชิงระบบ (System Approach) กับหลักการบริหาร ตามสถานการณ์ (Contingency Approach) สรุปสาระได้ดังนี้

1. สภาพแวดล้อม (Environment) 2. เทคโนโลยี (Technology) 3. โครงสร้าง (Structure)

4. กระบวนการจัดการ (Management Process) 5. การตัดสินใจสั่งการ (Decision Making)

ตารางที่ 1 การวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ประกอบของโมเดลการเรียนการสอน (ทิศนา แขมมณี,

2546)

(Charles W.

Anderson, 1999)

(Arend, R. J., Mgmt, S., &

Stern, 1999)

(Joyce, B., Weil, M., & Calhoun,

2015)

สรุป

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ทฤษฎี

หลักการ แนวคิดหรือ ความเชื่อที่เป็น พื้นฐานของโมเดลการ เรียนการสอน

องค์ประกอบที่ 1 หลักการของ โมเดล

องค์ประกอบที่ 1 หลักการตาม ทฤษฎีที่เป็น แนวคิดพื้นฐาน

องค์ประกอบที่ 1 ทฤษฎีหรือหลักการที่

เป็นพื้นฐานของโมเดล

องค์ประกอบ ที่ 1หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เป็น พื้นฐานของ โมเดล องค์ประกอบที่ 2

การบรรยายและ อธิบายสภาพหรือ ลักษณะของการ จัดการเรียนการสอนที่

สอดคล้องกับหลักการ ที่ยึดถือ

องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ของ โมเดล

องค์ประกอบที่ 2 ผลการเรียนรู้ที่

ต้องการ

องค์ประกอบที่ 2 แนวทางในการ ออกแบบกิจกรรมการ เรียนการสอนและ สิ่งแวดล้อมในการ เรียนการสอน

องค์ประกอบ ที่ 2

วัตถุประสงค์

ของโมเดล

24 ตาราง 1 (ต่อ)

(ทิศนา แขมมณี, 2546)

(Charles W.

Anderson, 1999)

(Arend, R. J., Mgmt, S., &

Stern, 1999)

(Joyce, B., Weil, M., & Calhoun,

2015)

สรุป

องค์ประกอบที่ 3 การจัดระบบ คือ มีการจัด

องค์ประกอบและ ความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบของ ระบบให้น าผู้เรียน ไปสู่เป้าหมายของ ระบบ

องค์ประกอบที่ 3 หลักฐานที่แสดง การยอมรับ ประสิทธิภาพ ของโมเดล

องค์ประกอบที่ 3 วิธีการสอนที่จะ ท าให้การสอน บรรลุวัตถุประสงค์

องค์ประกอบที่ 3 วิธีสอนและวิธีเรียน ที่จะช่วยให้การ เรียนการสอนบรรลุ

วัตถุประสงค์ที่

ต้องการ

องค์ประกอบ ที่ 3

วิธีการและ กิจกรรมการ เรียนการ สอนที่จะช่วย ให้บรรลุ

วัตถุประสงค์

ของโมเดล องค์ประกอบที่ 4

การอธิบายหรือให้

ข้อมูลเกี่ยวกับวิธี

สอนและเทคนิค การสอนที่จะช่วย ให้กระบวนการ เรียนการสอนเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด

องค์ประกอบที่ 4 สิ่งแวดล้อมในการ สอน

องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลที่จะ ชี้ให้เห็นผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในตัว ผู้เรียนอันเป็นผลมา จากการใช้โมเดล นั้น

องค์ประกอบ ที่ 4

การวัดผล และ ประเมินผล การเรียนรู้

ตาม

วัตถุประสงค์

ของโมเดล

จากตาราง 1 การวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ประกอบของโมเดลการเรียนการสอน ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักส าคัญ 4 องค์ประกอบ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 หลักการ แนวคิดทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานของโมเดลการเรียนการสอน

25 องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ของโมเดลการเรียนการสอน

องค์ประกอบที่ 3 วิธีการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่จะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์

ของโมเดลการเรียนการสอน

องค์ประกอบที่ 4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของโมเดลการ เรียนการสอน

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า องค์ประกอบของโมเดลจะต้องมีความสัมพันธ์กันเชิงสาเหตุที่ใช้

ท านายผลเพื่อน าไปสรุปเป็นความคิดรวบยอดในการอธิบายปรากฏการณ์ในเรื่องที่ก าลังศึกษาหรือ เรื่องที่สนใจ

Garis besar

Dokumen terkait