• Tidak ada hasil yang ditemukan

ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ประกอบด้วย 1 เพศ

บทที่ 2

1. ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ประกอบด้วย 1 เพศ

1.2 อายุ

1.3 สถานภาพสมรส 1.4 ระดับการศึกษา 1.5 อาชีพ

1.6 จ านวนสมาชิกในครอบครัว 1.7 รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัว 1.8 รายจ่ายเฉลี่ยต่อครอบครัว 1.9 ลักษณะการออมเงิน 1.10 งานอดิเรก

2. ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ประกอบด้วย 2.1 ด้านผลิตภัณฑ์

2.2 ด้านราคา

2.3 ด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย 2.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด 2.5 ด้านบุคลากร

2.6 ด้านลักษณะทางกายภาพ 2.7 ด้านกระบวนการ

3. ปัจจัยด้านอื่น ๆ เช่น ภาพลักษณ์ของตราสินค้า ความภักดีต่อตราสินค้า ความไว้วางใจ ผู้วิจัยได้น าผลการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตไปเป็น แนวทางในการก าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย

ตารางที่ 2.4 สรุปผลการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต (ต่อ)

ผู้แต่ง เรื่อง ผลการศึกษา

ณัฐกมล ศานติมงคลวิทย์ (2557) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกัน ชีวิตของผู้บริโภควัยท างานในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร

อาชีพ ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และปัจจัยด้านอื่น ๆ ได้แก่

ภาพลักษณ์ของตราสินค้า ความภักดีต่อตราสินค้า และความ ไว้วางใจ มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกซื้อกรมธรรม์

ประกันชีวิต ภัทรฎา โสภาสิทธิ (2557) พฤติกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อประกันชีวิต

แบบสะสมทรัพย์ บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จ ากัด (มหาชน) ในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร

ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ (เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ การศึกษา อาชีพ จ านวนสมาชิกในครอบครัว รายได้เฉลี่ยต่อ ครอบครัว รายจ่ายเฉลี่ยต่อครอบครัว ลักษณะการออมเงิน และ งานอดิเรก) มีผลต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

ณัฐิยา ภัทรกิจจานุรักษ์ (2560) ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อประกันชีวิตของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อประกันชีวิตของผู้บริโภค คือ ปัจจัย ด้านบุคคลและกระบวนการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และราคา ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจ าหน่ายและการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ และปัจจัยด้านประชากรศาสตร์

คือ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้

ตารางที่ 2.4 (ต่อ) สรุปผลการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต

ผู้แต่ง เรื่อง ผลการศึกษา

นัฏฐภัค ผลาชิต (2560) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันชีวิตแบบสะสม ทรัพย์ผ่านช่องทางธนาคารกรุงไทยภายในส านักงานเขต ปทุมธานี

ปัจจัยส่วนบุคคล (เพศ อายุ สถานภาพ และระดับการศึกษา) ปัจจัยทางด้านสังคม และปัจจัยทางด้านการตลาด (ด้าน ผลิตภัณฑ์บริการ ด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย ด้านการส่งเสริม ทางการตลาด และด้านผลผลิตและคุณภาพ) มีผลต่อการ ตัดสินใจท าประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์

มณีรัตน์ รัตนพันธ์ (2561) ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อประกันชีวิตของผู้บริโภคใน จังหวัดสงขลา

อายุที่ต่างกันที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันชีวิตในภาพรวม แตกต่างกัน

ศนิษา สัมพคุณ (2561) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต ผ่านตัวแทนและผ่านธนาคารพาณิชย์ในจังหวั ด ประจวบคีรีขันธ์

ปัจจัยทางประชากรศาสตร์ (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน)และปัจจัยที่มีผลต่อการ ตัดสินใจ มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์

ประกันชีวิต จีราพร แก้วปัน (2563) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อประกันชีวิตของผู้บริโภควัย

ท างานในเขตพื้นที่บางเขน กรุงเทพมหานคร

อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ มี

ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อและปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจ าหน่าย และ ด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือก ซื้อ

ตารางที่ 2.4 (ต่อ) สรุปผลการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต

ผู้แต่ง เรื่อง ผลการศึกษา

ฐิติวรรณ หาจันดา (2563) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเลือกซื้อประกัน สุขภาพ กรณีศึกษาแบบประกันสุขภาพของบริษัท เมืองไทยประกันภัย จ ากัด (มหาชน)

อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และจ านวน บุตรในครอบครัว มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อ ประกันสุขภาพ

ทรงศักดิ์ ชมบุญ (2563) ความพึงพอใจในการเลือกซื้อประกันโควิด-19 ของ ประชากรในกรุงเทพมหานคร

รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และพฤติกรรมของการซื้อประกันโควิด-19 ที่ส่งผลต่อความพึงพอในการเลือกซื้อประกันโควิด-19

พีรญา นิชานนท์ (2563) กระบวนการตัดสินใจซื้อประกันภัย (โรคโควิด-19) ของ กลุ่มประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร

เพศ และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน ราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านลักษณะทางกายภาพ มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อ ประกันภัย (โรคโควิด-19)

2.7 กรอบแนวคิดในการศึกษา

จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฏี ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้น ามาเป็นแนวทางใน การก าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยในครั้งนี้ โดยได้ก าหนดตัวแปรต่าง ๆ ดังนี้

2.7.1 ตัวแปรอิสระ ส าหรับการวิจัยครั้งนี้ได้ก าหนดตัวแปรอิสระเพื่อใช้ในการวิจัย คือ ปัจจัย ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ (Demographic factors) ประกอบด้วย (ศิริวรรณ เสรีรัตน์, 2546)

1) เพศ