• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4. ระดับการศึกษา

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

การศึกษาครั้งนี้มีสมมติฐานในการทดสอบ คือ

สมมติฐานที่ 1 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านเพศ แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของ ผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

สมมติฐานที่ 2 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านอายุ

แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของ ผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

สมมติฐานที่ 3 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์

ด้านสถานภาพสมรส แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้าน ชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

สมมติฐานที่ 4 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านระดับ การศึกษา แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้าน ชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

สมมติฐานที่ 5 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านอาชีพ แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของ ผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

สมมติฐานที่ 6 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านรายได้

เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้าน ชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ สถิติทดสอบ ที (t – test) และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) โดยมีสมมติฐานในการทดสอบ ดังนี้

H0 : ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านเพศ ด้านอายุ

ด้านสถานภาพสมรส ด้านระดับการศึกษา ด้านอาชีพ และด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ส่งผล ต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน การตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ ไม่แตกต่าง กัน

H1 : ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านเพศ ด้านอายุ

ด้านสถานภาพสมรส ด้านระดับการศึกษา ด้านอาชีพ และด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ส่งผล ต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน การตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ แตกต่าง กัน

โดยก าหนดระดับนัยส าคัญที่ 0.05 และท าการเปรียบเทียบกับค่าระดับนัยส าคัญ (Sig) ของแต่

ละปัจจัย ถ้าค่าระดับนัยส าคัญ (Sig) มากกว่า α ก็จะ ยอมรับ H0 แสดงว่า ผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านเพศ ด้านอายุ ด้านสถานภาพสมรส ด้านระดับ การศึกษา ด้านอาชีพ และด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้

ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์

ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ ไม่แตกต่างกัน และถ้าค่า Sig. น้อย กว่า α ก็จะ ยอมรับ H1 แสดงว่า ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์

ด้านเพศ ด้านอายุ ด้านสถานภาพสมรส ด้านระดับการศึกษา ด้านอาชีพ และด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์

ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรา ยี่ห้อ แตกต่างกัน โดยมีผลการทดสอบสมมติฐานจ าแนกตามปัจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ ผู้บริโภค ดังนี้

ผลการทดสอบสมมติฐานที่ 1

สมมติฐานที่ 1 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านเพศ แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของ ผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

ตารางที่ 4.3 การเปรียบเทียบความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ของผู้บริโภค จ าแนกตามเพศ

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ชาย หญิง t-

test Sig.

S.D. S.D.

ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ 3.97 0.70 3.78 0.80 2.15 0.03*

ด้านราคา 4.09 0.60 3.98 0.80 1.32 0.18

ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ 4.00 0.60 3.88 0.74 1.40 0.16

ด้านคุณค่าทางสังคม 3.92 0.78 3.87 0.83 0.61 0.54

ด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ 4.08 0.63 3.85 0.83 2.63 0.00*

การรับรู้ประโยชน์โดยรวม 4.01 0.60 3.87 0.73 1.75 0.08 *มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.3 พบว่า ผู้บริโภคที่มีเพศที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้

ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t-test = 1.75, Sig = 0.08) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้บริโภคที่มีเพศที่แตกต่างกัน มีความ คิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ (t-test = 2.15, Sig = 0.03) และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ (t-test = 2.63, Sig = 0.00) แตกต่าง กัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่า ผู้บริโภคเพศชาย มีการรับรู้ประโยชน์ในการท า ประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ มากกว่าผู้บริโภค เพศหญิง

ส่วนความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านราคา (t-test

= 1.32, Sig = 0.18) ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ (t-test = 1.40, Sig = 0.16) และด้านคุณค่า ทางสังคม (t-test = 0.61, Sig = 0.54) พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อผู้บริโภคมีเพศที่แตกต่างกัน

ผลการทดสอบสมมติฐานที่ 2

สมมติฐานที่ 2 ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ด้านอายุ

แตกต่างกัน ส่งผลต่อกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 (ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการตอบสนองทางอารมณ์ ด้านคุณค่าทางสังคม และด้านชื่อเสียงของ ผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ) แตกต่างกัน

ตารางที่ 4.4 การเปรียบเทียบความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ของผู้บริโภค จ าแนกตามอายุ

การรับรู้ประโยชน์ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ระหว่างกลุ่ม 10.93 3 3.64 6.27 0.00*

ภายในกลุ่ม 230.15 396 0.58

รวม 241.08 399

ด้านราคา ระหว่างกลุ่ม 17.33 3 5.78 11.00 0.00*

ภายในกลุ่ม 207.91 396 0.53

รวม 225.24 399

ด้านการตอบสนองอารมณ์ ระหว่างกลุ่ม 4.47 3 1.49 3.03 0.03*

ภายในกลุ่ม 195.12 396 0.49

รวม 199.60 399

ด้านคุณค่าทางสังคม ระหว่างกลุ่ม 4.48 3 1.49 2.25 0.08 ภายในกลุ่ม 262.28 396 0.66

รวม 266.76 399

ด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ ระหว่างกลุ่ม 2.98 3 0.99 1.61 0.19

ตรายี่ห้อ ภายในกลุ่ม 244.10 396 0.62

รวม 247.08 399

การรับรู้ประโยชน์ในการท า ระหว่างกลุ่ม 5.95 3 1.98 4.19 0.01*

ประกันโควิด-19 โดยรวม ภายในกลุ่ม 187.51 396 0.47

รวม 193.47 399

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.4 พบว่า ผู้บริโภคที่มีอายุแตกต่างกัน มีความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้

ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 โดยรวม แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F-test = 4.19, Sig = 0.01) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้บริโภคที่มีอายุที่แตกต่างกัน มีความ

คิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์

(F-test = 6.27, Sig = 0.00) ด้านราคา (F-test = 11.00, Sig = 0.00) และด้านการตอบสนอง อารมณ์ (F-test = 3.03, Sig = 0.03) แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ส่วนความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณค่าทาง สังคม (F-test = 2.25, Sig = 0.08) และด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์/ตรายี่ห้อ (F-test = 1.61,

Sig = 0.19) พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อผู้บริโภคมีอายุที่

แตกต่างกัน

เมื่อท าการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD (ดังตารางที่ 4.5) มีผลการศึกษา ดังนี้

ตารางที่ 4.5 การเปรียบเทียบความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ของผู้บริโภค จ าแนกตามอายุ เชิงซ้อน (ต่อ)

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์

อายุ x̅ S.D.

Mean Difference

(1) (2) (3) (4)

3.66 3.83 4.10 3.70

ต่ ากว่า 30 ปี (1) 3.66 0.72 - -0.17 -0.44* -0.04

31 – 40 ปี (2) 3.83 0.82 - -0.27* 0.13

41 – 50 ปี (3) 4.10 0.75 - 0.40*

51 – 60 ปี (4) 3.70 0.68 -

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านราคา

อายุ x̅ S.D.

Mean Difference

(1) (2) (3) (4)

3.84 4.05 4.31 3.62

ต่ ากว่า 30 ปี (1) 3.84 0.63 - -0.21* -0.47* 0.22

31 – 40 ปี (2) 4.05 0.82 - -0.26* 0.43*

41 – 50 ปี (3) 4.31 0.66 - 0.69*

51 – 60 ปี (4) 3.62 0.75 -

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านการตอบสนองอารมณ์

อายุ x̅ S.D.

Mean Difference

(1) (2) (3) (4)

3.82 3.89 4.10 3.87

ต่ ากว่า 30 ปี (1) 3.82 0.62 - -0.07 -0.28* -0.05

31 – 40 ปี (2) 3.89 0.79 - -0.21* 0.02

41 – 50 ปี (3) 4.10 0.61 - 0.23

51 – 60 ปี (4) 3.87 0.77 -

ตารางที่ 4.5 (ต่อ) การเปรียบเทียบความคิดเห็นกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโค วิด-19 ของผู้บริโภค จ าแนกตามอายุ เชิงซ้อน

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 โดยรวม

อายุ x̅ S.D.

Mean Difference

(1) (2) (3) (4)

3.81 3.92 4.09 3.69

ต่ ากว่า 30 ปี (1) 3.81 0.61 - -0.11 -0.28* 0.12

31 – 40 ปี (2) 3.92 0.76 - -0.17 0.23

41 – 50 ปี (3) 4.09 0.67 - 0.40*

51 – 60 ปี (4) 3.69 0.63 -

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.5 พบว่า ผู้บริโภคที่มีอายุต่ ากว่า 30 ปี มีกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ใน การท าประกันโควิด-19 โดยรวม น้อยกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ 41 – 50 ปี และผู้บริโภคที่มีอายุ 41 – 50 ปี มีกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 โดยรวม มากกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ

51 – 60 ปี อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคู่อื่นพบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมี

นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ พบว่า ผู้บริโภคที่มีอายุต่ า กว่า 30 ปี และผู้บริโภคที่มีอายุ 31 – 40 ปี มีกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกัน โควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ น้อยกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ 41 – 50 ปี และผู้บริโภคที่มีอายุ

41 – 50 ปี มีกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์

มากกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ 51 – 60 ปี อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคู่อื่นพบว่า ไม่มีความ แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

การรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านราคา พบว่า ผู้บริโภคที่มีอายุต่ ากว่า 30 ปี มี

กระบวนการการรับรู้ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านราคา น้อยกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ

31 – 40 ปี และผู้บริโภคที่มีอายุ 41 – 50 ปี ผู้บริโภคที่มีอายุ 31 – 40 ปี มีกระบวนการการรับรู้

ประโยชน์ในการท าประกันโควิด-19 ด้านราคา น้อยกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ 41 – 50 ปี แต่มากกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ 51 – 60 ปี และบริโภคที่มีอายุ 41 – 50 ปี มีกระบวนการการรับรู้ประโยชน์ใน การท าประกันโควิด-19 ด้านราคา มากกว่า ผู้บริโภคที่มีอายุ 51 – 60 ปี อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

ระดับ .05 ส่วนคู่อื่นพบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05